ข้ามไปเนื้อหา

กรุงเทพมหานครในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
กรุงเทพมหานครในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562

← พ.ศ. 2554 24 มีนาคม พ.ศ. 2562 พ.ศ. 2566 →

30 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน4,489,223
ผู้ใช้สิทธิ72.51%
  First party Second party
 
Prayuth 2018 cropped.jpg
Thanathorn Juangroongruangkit - 2.jpg
พรรค พลังประชารัฐ

อนาคตใหม่

เลือกตั้งล่าสุด พรรคใหม่ พรรคใหม่
ที่นั่งที่ชนะ 12 9
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น12 เพิ่มขึ้น9
คะแนนเสียง 791,893 804,272
% 25.53 25.93

  Third party Fourth party
 
Sudarat Keyuraphan in 2019.png
Abhisit Vejjajiva 2009 official.jpg
พรรค เพื่อไทย

ประชาธิปัตย์

เลือกตั้งล่าสุด 10 ที่นั่ง, 45.98% 23
ที่นั่งที่ชนะ 9 0
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง1 ลดลง23
คะแนนเสียง 604,699 474,820
% 19.49 15.31

ผลการเลือกตั้งตามเขตการเลือกตั้ง

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562 ในกรุงเทพมหานคร กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2562 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งใหม่ออกเป็น 30 เขตเลือกตั้ง ลดลงจาก 33 เขตเลือกตั้งในปี พ.ศ. 2554[1] โดยแต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 1 คน

ภาพรวม

[แก้]

แบ่งตามพรรค

[แก้]
พรรค จำนวน
ผู้สมัคร
คะแนนเสียง ที่นั่ง
จน. % จน. +/– %
พลังประชารัฐ 30 791,893 25.53% 12 เพิ่มขึ้น12 40.00%
อนาคตใหม่ 30 804,272 25.93% 9 เพิ่มขึ้น9 30.00%
เพื่อไทย 22 604,699 19.49% 9 ลดลง1 30.00%
ประชาธิปัตย์ 30 474,820 15.31% 0 ลดลง23 0.00%
อื่น ๆ 819 426,596 13.74% 0 Steady 0.00%
ผลรวม 931 3,102,280 100.00% 30 ลดลง3 100.00%

แบ่งตามเขต

[แก้]
เขตเลือกตั้ง พลังประชารัฐ อนาคตใหม่ เพื่อไทย ประชาธิปัตย์ อื่น ๆ ผลรวม ผลการเลือกตั้ง
คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง %
เขต 1 23,246 28.61% 18,901 22.26% 15,904 19.57% 14,348 17.66% 9,668 11.90% 81,257 100.00% พลังประชารัฐ ได้ที่นั่ง
เขต 2 26,909 31.04% 26,636 30.72% 16,269 18.76% 16,887 19.48% 86,701 100.00% พลังประชารัฐ ได้ที่นั่ง
เขต 3 25,148 29.22% 28,444 33.05% 17,029 19.79% 15,446 17.94% 86,067 100.00% อนาคตใหม่ ได้ที่นั่ง
เขต 4 27,620 33.51% 25,588 31.50% 13,890 16.85% 15,314 18.59% 82,412 100.00% พลังประชารัฐ ได้ที่นั่ง
เขต 5 27,667 24.86% 25,484 22.71% 27,897 24.86% 18,711 16.68% 12,436 11.09% 112,195 100.00% เพื่อไทย ได้ที่นั่ง
เขต 6 28,690 27.62% 23,980 23.08% 22,275 21.44% 16,525 15.91% 12,409 11.95% 103,879 100.00% พลังประชารัฐ ได้ที่นั่ง
เขต 7 25,180 25.45% 21,339 21.57% 23,998 24.26% 12,896 13.04% 15,513 15.68% 98,926 100.00% พลังประชารัฐ ได้ที่นั่ง
เขต 8 29,090 26.77% 25,656 23.61% 26,122 24.04% 15,384 14.16% 12,404 11.42% 108,656 100.00% พลังประชารัฐ ได้ที่นั่ง
เขต 9 34,907 28.44% 25,735 20.96% 32,115 26.16% 16,255 13.24% 13,743 11.20% 122,755 100.00% พลังประชารัฐ ได้ที่นั่ง
เขต 10 22,067 23.38% 22,062 23.37% 30,800 32.63% 14,061 14.90% 5,400 5.72% 94,390 100.00% เพื่อไทย ได้ที่นั่ง
เขต 11 18,960 16.77% 25,098 22.20% 34,679 30.68% 24,815 21.95% 9,497 8.40% 113,049 100.00% เพื่อไทย รักษาที่นั่ง
เขต 12 27,571 24.64% 27,629 24.69% 30,254 27.03% 11,075 9.90% 15,386 13.74% 111,915 100.00% เพื่อไทย รักษาที่นั่ง
เขต 13 27,489 26.16% 23,707 22.56% 23,912 22.75% 17,958 17.09% 12,032 11.44% 105,098 100.00% พลังประชารัฐ ได้ที่นั่ง
เขต 14 25,908 23.15% 24,461 21.86% 31,445 28.10% 13,375 11.95% 16,712 14.94% 111,901 100.00% เพื่อไทย รักษาที่นั่ง
เขต 15 31,551 31.50% 21,186 21.15% 30,123 30.07% 8,949 8.93% 8,356 8.35% 100,165 100.00% พลังประชารัฐ ได้ที่นั่ง
เขต 16 29,304 26.73% 26,352 24.04% 31,481 28.71% 10,683 9.74% 11,818 10.78% 109,638 100.00% เพื่อไทย รักษาที่นั่ง
เขต 17 25,329 27.87% 18,391 20.23% 24,610 27.07% 8,868 9.76% 13,700 15.07% 90,898 100.00% พลังประชารัฐ ได้ที่นั่ง
เขต 18 20,739 21.82% 22,346 23.52% 35,361 37.21% 7,295 7.68% 9,284 9.77% 95,025 100.00% เพื่อไทย รักษาที่นั่ง
เขต 19 28,203 27.89% 23,554 23.29% 21,839 21.60% 16,284 16.10% 11,247 11.12% 101,127 100.00% พลังประชารัฐ ได้ที่นั่ง
เขต 20 29,557 25.93% 40,483 35.51% 18,548 16.27% 25,403 22.29% 113,991 100.00% อนาคตใหม่ ได้ที่นั่ง
เขต 21 28,944 29.25% 35,702 36.07% 14,339 14.49% 19,983 20.19% 98,968 100.00% อนาคตใหม่ ได้ที่นั่ง
เขต 22 27,421 26.23% 34,368 32.87% 20,376 19.49% 22,378 21.41% 104,543 100.00% อนาคตใหม่ ได้ที่นั่ง
เขต 23 26,015 23.76% 27,651 25.25% 24,959 22.79% 17,247 15.75% 13,635 12.45% 109,507 100.00% อนาคตใหม่ ได้ที่นั่ง
เขต 24 29,154 26.47% 38,409 34.87% 14,784 13.42% 27,809 25.24% 110,156 100.00% อนาคตใหม่ ได้ที่นั่ง
เขต 25 16,782 17.22% 38,340 39.35% 23,425 24.04% 18,893 19.39% 97,440 100.00% อนาคตใหม่ ได้ที่นั่ง
เขต 26 18,032 17.12% 27,244 25.87% 30,538 29.00% 19,202 18.24% 10,286 9.77% 105,302 100.00% เพื่อไทย ได้ที่นั่ง
เขต 27 24,981 20.73% 29,545 24.52% 28,367 23.54% 23,803 19.75% 13,817 11.46% 120,513 100.00% อนาคตใหม่ ได้ที่นั่ง
เขต 28 29,413 26.95% 29,590 27.11% 23,510 21.54% 17,279 15.83% 9,337 8.57% 109,129 100.00% อนาคตใหม่ ได้ที่นั่ง
เขต 29 24,622 23.84% 23,477 22.73% 28,765 27.85% 13,612 13.18% 12,811 12.40% 103,287 100.00% เพื่อไทย ได้ที่นั่ง
เขต 30 31,394 27.99% 23,724 21.15% 25,745 22.96% 17,535 15.64% 13,753 12.26% 112,151 100.00% พลังประชารัฐ ได้ที่นั่ง
ผลรวม 791,893 25.53% 804,272 25.93% 604,699 19.49% 474,820 15.31% 426,596 13.74% 3,102,280 100.00%

การเปลี่ยนแปลงเขตการเลือกตั้ง

[แก้]
แผนที่การแบ่งเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2562

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

[แก้]

เขต 1เขต 2เขต 3เขต 4เขต 5เขต 6เขต 7เขต 8เขต 9เขต 10เขต 11เขต 12เขต 13เขต 14เขต 15เขต 16เขต 17เขต 18เขต 19เขต 20เขต 21เขต 22เขต 23เขต 24เขต 25เขต 26เขต 27เขต 28เขต 29เขต 30

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขต 1

[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยเขตพระนคร เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย เขตสัมพันธวงศ์และเขตดุสิต (ยกเว้นแขวงถนนนครไชยศรี)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร เขต 1
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
พลังประชารัฐ

กานต์กนิษฐ์ แห้วสันตติ (14) 23,246 28.61
อนาคตใหม่

นพมาศ การุญ (11) 18,091 22.26
เพื่อไทย

ลีลาวดี วัชโรบล (9)* 15,904 19.57
ประชาธิปัตย์

เจิมมาศ จึงเลิศศิริ (3)* 14,348 17.66 –45.94
เศรษฐกิจใหม่

มงคล เสมอภาพ (21) 4,522 5.57
เสรีรวมไทย

ร้อยเอก วัชราภรณ์ สังวรโยธิน (17) 1,687 2.08
ภูมิใจไทย

ทวีพร อนุตรพงษ์สกุล (13) 806 0.99
รวมพลังประชาชาติไทย

เตช เตชะพัฒน์สิริ (7) 547 0.67
พลังท้องถิ่นไท


ธเนษฐ เศรษฐาวาณิช (2) 426 0.52
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย


กอบชัย ชยามฤต (12) 301 0.37
ประชาชนปฏิรูป


ดรัณภัทร วิชชาวุธ (5) 268 0.33
ไทยศรีวิไลย์


ณัฐปภัสร์ วรธันย์ผาสุข (1) 223 0.27
ชาติไทยพัฒนา

กรีณรงค์ ชาตรี (4) 212 0.26
เพื่อชาติ


ณัฏฐ์พงษ์ ยงใจยุทธ (10) 168 0.21
ประชาชาติ

รวิโชติ ธำรงนาวาสวัสดิ์ (6) 91 0.11
ภราดรภาพ


ณัฐพล หวังชูเชิดกุล (20) 62 0.08
ประชาภิวัฒน์

ธนชาต เมฆวันวรา (15) 54 0.07
ถิ่นกาขาวชาววิไล

เรียบ ประทุมฝาง (19) 36 0.04
แผ่นดินธรรม

จ่าเอก พิพัฒน์ วงษ์ฤทธิ์ (23) 34 0.04
เพื่อแผ่นดิน


วิเชียร โมไนยกุล (16) 33 0.04
พลังชาติไทย

หฤษฎ์ หนูเอี่ยม (24) 27 0.03
มหาชน

พัทธ์ฐิชา ณิชยรวีพัชร์ (26) 25 0.03
ไทรักธรรม

ภฤศ วัฒนธาดากุล (30) 25 0.03
ครูไทยเพื่อประชาชน

พงศ์ชิษณุ พีรดาจิราวัฒน์ (25) 24 0.03
ประชานิยม


วิสุดา จงสกุลชัย (18) 23 0.03
ประชาธรรมไทย

หนึ่งฤทัย หัสดิน (28) 21 0.03
ภาคีเครือข่ายไทย

อรุณรัตน์ ศิลปธรรมธาดา (29) 20 0.02
มติประชา

วัลลี แอสุวรรณ์ (22) 18 0.02
พลังศรัทธา

กันญภัทร นครังสุ (27) 15 0.02
ชาติพัฒนา

อนุสรณ์ เกษมวรรณ (8)
ผลรวม 81,257 100.00
บัตรดี 81,257 95.36
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,717 2.02
บัตรเสีย 2,229 2.62
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 85,203 68.26
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 124,830 100.00
พลังประชารัฐ

ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์

เขต 2

[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยเขตปทุมวัน เขตบางรักและเขตสาทร

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร เขต 2
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
พลังประชารัฐ

พัชรินทร์ ซำศิริพงษ์ (2) 26,909 31.04
อนาคตใหม่

พัสวี ภัทรพุทธากร (5) 26,636 30.72
ประชาธิปัตย์

อรอนงค์ กาญจนชูศักดิ์ (4)* 16,269 18.76
เศรษฐกิจใหม่

ชัยวัฒน์ ชื่นสุขสันต์ (19) 5,610 6.47
เสรีรวมไทย

ชัญญา บุญเกิด (6) 3,434 3.96
ภูมิใจไทย

อุไร อนันตสิน (3) 2,947 3.40
เพื่อชาติ


ภัทรกันย์ กิจวิชา (7) 2,142 2.47
รวมพลังประชาชาติไทย

ณัฏฐพัชร์ กวินกนกกัลป์ (1) 1,022 1.18
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย


สิริมา ธารีจารุ (18) 246 0.28
ประชาชนปฏิรูป


นิธินันท์ นิธิวชิระพงศ์ (12) 195 0.22
ชาติพัฒนา

ปุณฐ์นัฐย์ดา อิสริยาพร (13) 189 0.22
ประชาชาติ

พิมพาภรณ์ พานทอง (8) 166 0.19
ชาติไทยพัฒนา

ศิรภัสสร พิเนตร (11) 162 0.19
พลังท้องถิ่นไท


เพ็ญลดา ครุธโกษา (31) 103 0.12
พลังประชาธิปไตย

นพรุจ วรชิตวุฒิกุล (9) 102 0.12
พลังชาติไทย

ภูริต มนูปรัญญานนท์ (23) 86 0.10
มติประชา

ภควุฒิ งามพัฒนพงศ์ชัย (22) 55 0.06
แผ่นดินธรรม

เทียนชัย วงศ์นวภรณ์ (21) 51 0.06
ประชานิยม


เมธานนท์ สุรเมธีกุล (24) 49 0.06
สามัญชน

ภัทร์นฤน วงศ์กาศ (30) 47 0.05
พลังสังคม

พันตรี อำนาจ ศิลปาจารย์ (25) 41 0.05
ครูไทยเพื่อประชาชน

สุรวัชร์ ทองรอด (20) 40 0.05
ถิ่นกาขาวชาววิไล

รชต ตันตระกูล (16) 38 0.04
ประชาภิวัฒน์

ธีระ ธรรมลักขณา (15) 36 0.04
กลาง

อัศจรรย์ เขมกานนท์ (26) 34 0.04
มหาชน

ศิวกร ซิมมณี (29) 27 0.03
ภาคีเครือข่ายไทย

ธงชัย ทองอยู่เลิศ (27) 23 0.03
ประชาธรรมไทย

วิทยา อิบรอฮีม (28) 23 0.03
ภราดรภาพ


ธนบุรี วสุธาวาณิช (17) 19 0.02
ไทยรักษาชาติ

หม่อมหลวง ณัฏฐพล เทวกุล (10)
เพื่อแผ่นดิน


พัชรวีร์ พรหมวงศ์ (14)
ผลรวม 86,701 100.00
บัตรดี 86,701 95.25
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,014 2.21
บัตรเสีย 2,315 2.54
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 91,030 69.65
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 130,692 100.00
พลังประชารัฐ

ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์

เขต 3

[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วยเขตบางคอแหลมและเขตยานนาวา

ทั้งนี้ ภายหลังที่ศาลรัฐธรรมนูญมีคำสั่งให้ยุบพรรคอนาคตใหม่ ผู้ได้รับเลือกตั้ง นางสาววรรณวรี ตะล่อมสิน ได้ย้ายเข้าสังกัดพรรคก้าวไกลในวันที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2563[2]

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร เขต 3
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
อนาคตใหม่

วรรณวรี ตะล่อมสิน (14) 28,444 33.05
พลังประชารัฐ

เนวินธุ์ ช่อชัยทิพฐ์ (3) 25,148 29.22
ประชาธิปัตย์

หม่อมหลวง อภิมงคล โสณกุล (13)* 17,029 19.79
เศรษฐกิจใหม่

วิทยา ตั้งสุวรรณวงศ์ (20) 5,788 6.72
เสรีรวมไทย

ไสว ทัศนีย์ภาพ (11) 3,832 4.45
เพื่อชาติ


สันติ วิชัยพล (10) 1,209 1.40
ภูมิใจไทย

ณฐพนธ์ คงศิลา (12) 1,082 1.26
รวมพลังประชาชาติไทย

จุมพล จันทร์จิระ (5) 546 0.63
ชาติพัฒนา

เอกรัฐ เลิศรัตนชัยกิจ (15) 369 0.43
ประชาชนปฏิรูป


ปณตพร โอฬารฤทธินันท์ (4) 350 0.41
พลังท้องถิ่นไท


ธิมล ไตรรัตน์วิโรจน์ (6) 284 0.33
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย


สิทธิกร หล่อกัณภัย (19) 247 0.29
ประชาชาติ

วิลนันต์ จันธนนิโรจน์ (8) 235 0.27
ชาติไทยพัฒนา

ศิระรังษี ปารมีอิทธิวงษ์ (9) 208 0.24
ประชาภิวัฒน์

สกนธ์ กัปปิยจรรยา (2) 186 0.22
ไทยศรีวิไลย์


ธนชัย ตั้งตรงสากล (18) 183 0.21
พลังไทยรักชาติ

ดวงกมล อดุลย์เศรณี (23) 147 0.17
ครูไทยเพื่อประชาชน

อุปถัมภ์​ พรรณสังข์ (21) 142 0.16
พลังชาติไทย

กิตตน์ รุ่งณรงค์รักษ์ (22) 129 0.15
พลังธรรมใหม่

นงลักษณ์ ติรกาญจนา (7) 102 0.12
ประชาธิปไตยใหม่

ชมน์สฤษฏ์ รัตนชัยเดชา (26) 101 0.12
ประชานิยม


ปฐวี ชัยวัฒน์ (16) 40 0.05
ภราดรภาพ


ธนัชพร วงษ์ทองทิว (17) 36 0.04
พลังไทสร้างชาติ

พิสิษฐ์ เจียมจิรอานนท์ (25) 34 0.04
แผ่นดินธรรม

ภัทรา นิทัศนานนทชัย (31) 34 0.04
พลังศรัทธา

พัชรินทร์ ประสพสุข (28) 32 0.04
พลังสังคม

ร้อยตรี ศรันย์วิทย์ เหมรักษ์ (24) 29 0.03
ไทรักธรรม

กฤษณะ เนตร์ชัยรัตน์ (33) 28 0.03
มหาชน

ไอยพราว พัชร์ปวริศร์ (29) 27 0.03
ประชาธรรมไทย

ปัญนิษา จำรัสธนเดช (30) 25 0.03
ภาคีเครือข่ายไทย

สุรสิทธิ์ ผาบชมภู (32) 12 0.01
มติประชา

เพียรชัย องค์ศรีตระกูล (27) 9 0.01
ไทยรักษาชาติ

พงษ์พิสุทธิ์ จินตโสภณ (1)✔†
ผลรวม 86,067 100.00
บัตรดี 86,067 94.68
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,967 2.16
บัตรเสีย 2,873 3.16
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 90,907 69.51
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 130,791 100.00
อนาคตใหม่

ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์

เขต 4

[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 4 ประกอบด้วยเขตคลองเตยและเขตวัฒนา

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร เขต 4
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
พลังประชารัฐ

กรณิศ งามสุคนธ์รัตนา (6) 27,620 33.51
อนาคตใหม่

กรณ์ จตุวิมล (2) 25,588 31.05
ประชาธิปัตย์

อนุชา บูรพชัยศรี (11)* 13,890 16.85
เศรษฐกิจใหม่

ธนภณ ธัญธนสกุล (21) 4,408 5.35
เพื่อชาติ


บุญเลิศ นุ้ยเมือง (1) 3,424 4.15
เสรีรวมไทย

เดือนเพ็ญ ยวงสูงเนิน (3) 3,199 3.88
ภูมิใจไทย

เอกราช หวังนุช (5) 898 1.09
รวมพลังประชาชาติไทย

พิรสุต จันทรานุวัฒน์ (4) 712 0.86
ประชาชาติ

มีชัย ออสุวรรณ (8) 420 0.51
พลังท้องถิ่นไท


อดิธร ศรีประเสริฐ (17) 395 0.48
ชาติพัฒนา

เมลิสา มหาพล (7) 269 0.33
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย


สุธีรัชต์ อมรพงศาพันธ์ (16) 269 0.33
ชาติไทยพัฒนา

สกุลทิพย์ วิชญาโนทัย (14) 202 0.25
ประชาชนปฏิรูป


สมชาย ชีวเกรียงไกร (12) 179 0.22
ไทยศรีวิไลย์


ศุลฤกษ์ ธนาพัชรมนฑ์ (10) 165 0.20
พลังไทสร้างชาติ

สมพิศ ผอบเพ็ชร (28) 124 0.15
ประชากรไทย

ธนเดช ไชยพฤกษ์ (22) 75 0.09
ประชาธิปไตยใหม่

ปุณณ์ภัสสร จีรวิวัฒนชัย (24) 74 0.09
มติประชา

นิพนธ์​ ฐิติภัค (26) 71 0.09
พลังชาติไทย

ธนเสฏฐ์ รัตนสมบูรณ์ (20) 64 0.08
มหาชน

จักรกรินทร์ สิงหนุต (13) 62 0.08
ประชานิยม


พันเทพ หงษ์สุมาลย์ (19) 51 0.06
ครูไทยเพื่อประชาชน

วุฒิวัฒน์ ธนินพัฒนรัตน์ (23) 45 0.05
ประชาภิวัฒน์

นรินทร์ โกศลรุ่งเรือง (9) 40 0.05
พลังรัก

ณัฐรัตน์ ไหลพิริยกุล (25) 35 0.04
ไทรักธรรม

ดารารัตน์ สีแดง (31) 32 0.04
ภราดรภาพ


สันทัด อัศวมั่นคงเจริญ (15) 26 0.03
พลเมืองไทย

จิรากัญ มากบุญธรรม (29) 25 0.03
พลังศรัทธา

ณัฐรมณ์ ลิ้นลา (30) 20 0.02
ภาคีเครือข่ายไทย

ฉัตรชัย คงเกิด (32) 17 0.02
ประชาธรรมไทย

กาญจนาภา สิทธิคุณาพันธุ์ (27) 13 0.02
ไทยรักษาชาติ

นวธันย์ ธวัชวงศ์เดชากุล (18)
ผลรวม 82,412 100.00
บัตรดี 82,412 94.81
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,787 2.06
บัตรเสีย 2,718 3.13
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 86,917 65.89
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 131,906 100
พลังประชารัฐ

ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์

เขต 5

[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 5 ประกอบด้วยเขตห้วยขวางและเขตดินแดง

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร เขต 5
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
เพื่อไทย

ประเดิมชัย บุญช่วยเหลือ (13) 27,897 24.86
พลังประชารัฐ

อรพินทร์ เพชรทัต (2) 27,667 24.66
อนาคตใหม่

อดิศร โพธิ์อ่าน (8) 25,484 22.71
ประชาธิปัตย์

ธนา ชีรวินิจ (9)* 18,711 16.68
เศรษฐกิจใหม่

ปฏิวัติ ตรองจิตต์ (29) 5,707 5.09
เสรีรวมไทย

กฤต เลิศเศรษฐการ (7) 2,583 2.30
ภูมิใจไทย

ธัชพงศ์ ชูดำ (4) 746 0.66
รวมพลังประชาชาติไทย

ภาณุพงศ์ บัวมาตร (17) 603 0.54
ชาติไทยพัฒนา

สุทักษ์ จิระรัตนวงศ์ (11) 436 0.39
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย


จักรทิพย์ ปัทมะทิน (15) 369 0.33
ชาติพัฒนา

ยงยุทธ วงศ์ธีระสูตร (1) 291 0.26
เพื่อชาติ


สาวิตรี สาทสุทธิ (14) 221 0.20
ไทยศรีวิไลย์


ณฐบดี อภิญญาตกุล (6) 209 0.19
ชาติพันธุ์ไทย

เอื้องฟ้า งามธุระ (24) 164 0.15
ประชาชาติ

อภิเดช ชยานนท์เกสรี (3) 140 0.12
ประชาธิปไตยใหม่

ณัฐสุรัช หงษ์วิจิตปรีชา (21) 107 0.10
พลังชาติไทย

พงศ์สัคค์ พุฒแก้ว (22) 104 0.09
ประชาภิวัฒน์

ศุภศักดิ์ บุญญะสุต (12) 97 0.09
พลังสังคม

สมเกียรติ มั่นคง (18) 97 0.09
พลังธรรมใหม่

กรรธิมา สันติสุข (10) 92 0.08
พลังท้องถิ่นไท


อนุรักษ์ รุ่งแจ้ง (26) 86 0.08
พลังประชาธิปไตย

พิชญ์ดา เดอเยซูซ์ (33) 82 0.07
พลังไทยรักไทย

สุรีพร สัมโย (25) 77 0.07
ครูไทยเพื่อประชาชน

กวิน นิลพานิช (23) 56 0.05
ภราดรภาพ


น้องนุช โทเอ (16) 38 0.03
ประชานิยม


พนิต นุชน้อย (20) 38 0.03
มหาชน

ภูเบศร์ มงคลวัฒน์ (30) 30 0.03
ภาคีเครือข่ายไทย

ประภัสสร แก้วประเสริฐ (28) 24 0.02
ประชาธรรมไทย

ณภัทร หลวงเมือง (32) 16 0.01
พลังปวงชนไทย

ทนัฏฐ์ ปานโสภณ (19) 14 0.01
มติประชา

สุชาติ สุวรรณปราโมทย์ (27) 9 0.01
ประชาชนปฏิรูป


สมชาย ดุรงค์เดช (5)
พลังไทสร้างชาติ

มานพ ศุขะพันธุ์ (31)
ผลรวม 112,195 100.00
บัตรดี 112,195 95.88
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,044 1.75
บัตรเสีย 2,770 2.37
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 117,009 71.45
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 163,768 100
เพื่อไทย

ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์

เขต 6

[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 6 ประกอบด้วยเขตราชเทวี เขตพญาไทและเขตจตุจักร (เฉพาะแขวงจตุจักรและแขวงจอมพล)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร เขต 6
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
พลังประชารัฐ

ภาดาท์ วรกานนท์ (11) 28,690 27.62
อนาคตใหม่

คริส โปตระนันทน์ (8) 23,980 23.08
เพื่อไทย

ประพนธ์ เนตรรังษี (3) 22,275 21.44
ประชาธิปัตย์

อรรถวิชช์ สุวรรณภักดี (10)* 16,525 15.91
เศรษฐกิจใหม่

สุมณฑา อ่อนนุ่ม (20) 5,416 5.21
เสรีรวมไทย

ภูวพัฒน์ ชนะสกล (2) 2,471 2.38
ภูมิใจไทย

อนุชาญ กวางทอง (1) 1,101 1.06
รวมพลังประชาชาติไทย

ดวงกมล ดวงสร้อยทอง (7) 811 0.78
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย


พลตำรวจตรี สุริยะ อยู่เย็น (18) 429 0.41
พลังท้องถิ่นไท


รุจชรินทร์ ทองใหญ่ (15) 384 0.37
ชาติไทยพัฒนา

พีรชาติ ยุกตานนท์ (9) 276 0.27
ประชาชนปฏิรูป


รพีพจน์ เจิมเทียนชัย (4) 263 0.25
ชาติพัฒนา

ณัฏฐ์ปิยะ กุลจิรารวีนิภา (6) 224 0.22
ไทยศรีวิไลย์


พิชัย บุราวาศ (16) 164 0.16
ภราดรภาพ


สุรภาส วิเชียร (17) 117 0.11
ประชาชาติ

วิโรจน์ เจษฎาดิลก (13) 115 0.11
เพื่อชาติ


ไชยา ประดิษฐธรรม (12) 102 0.10
พลังชาติไทย

อังศุธร อังคะพินทุ (21) 75 0.07
ประชานิยม


สังวน เจิมแป้น (5) 66 0.06
พลเมืองไทย

ฐาปนี โปร่งรัศมี (27) 63 0.06
พลังรัก

ภัทรพงศ์ วนะไชยเกียรติ (23) 59 0.06
มหาชน

นภารำไพ ณ นคร (25) 49 0.05
ประชาธิปไตยใหม่

ลาภวัต สุริยสกุลลาภ (30) 44 0.04
เพื่อแผ่นดิน


ประวีร์ จินดาวรรณ (19) 39 0.04
ครูไทยเพื่อประชาชน

พิสิษฐ์ พิพัฒน์กุลบุตร (22) 38 0.04
ประชาภิวัฒน์

เอนก นาคดิลก (14) 36 0.03
พลังปวงชนไทย

ขรรค์ชัย แก้วเนตร (24) 33 0.03
พลังไทสร้างชาติ

มิตรพล สิทธิกูล (26) 16 0.02
มติประชา

ปริญญา งามพัฒนพงศ์ชัย (28) 15 0.01
ภาคีเครือข่ายไทย

คชษิน กาดัสซา (29) 3 0.00
ผลรวม 103,879 100.00
บัตรดี 103,879 96.01
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,215 2.05
บัตรเสีย 2,095 1.94
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 108,189 71.99
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 150,274 100
พลังประชารัฐ

ชนะที่นั่ง (เขตเลือกตั้งใหม่)

เขต 7

[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 7 ประกอบด้วยเขตบางซื่อและเขตดุสิต (เฉพาะแขวงถนนนครไชยศรี)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร เขต 7
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
พลังประชารัฐ

ธณิกานต์ พรพงษาโรจน์ (4) 25,180 25.45
เพื่อไทย

ร้อยตำรวจเอก วัฒนรักษ์ สุรนาทยุทธ์ (17) 23,998 24.26
อนาคตใหม่

ปิยะชาติ อำนวยเวช (3) 21,339 21.57
ประชาธิปัตย์

คณวัฒน์ จันทรลาวัณย์ (15) 12,896 13.04
พลังท้องถิ่นไท


พิมพ์อร คงอุดม (12) 5,160 5.22
เศรษฐกิจใหม่

ณัทพสิษฐ์ ประสานวงศ์ (22) 3,848 3.89
เสรีรวมไทย

วรินทร สิรรมย์ (7) 2,006 2.03
ภูมิใจไทย

อัครนันท์ อริยศรีพงษ์ (14) 1,003 1.01
รวมพลังประชาชาติไทย

กันตพล กิตติธากรณ์ (11) 658 0.67
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย


พลโทหญิง พงษ์รุจี ศิริวัฒนะ (16) 476 0.48
เพื่อชาติ


โพยมราษี ฤกษ์สำราญ (13) 426 0.43
ประชาชาติ

ธัญญธำรง อัศวนนท์ (1) 259 0.26
ชาติไทยพัฒนา

ปฐมพร ทิมเพชร (8) 242 0.24
ไทยศรีวิไลย์


กฤษยากร สรชัย (9) 238 0.24
ชาติพัฒนา

วิโรจน์ จิตรอบอารีย์ (6) 224 0.23
ประชาชนปฏิรูป


พรมงคล ศรีดี (2) 164 0.17
ประชาภิวัฒน์

กัษณ เข็มเพ็ชร (5) 123 0.12
ประชานิยม


พีรยุทธ อินทรสุวรรณ (18) 97 0.10
ภราดรภาพ


ศจีกาญจน์ สรรพช่าง (21) 92 0.09
พลังชาติไทย

วโรภาส แสงเพชร (24) 89 0.09
เพื่อแผ่นดิน


สมชาติ อ่อนประดิษฐ์ (10) 81 0.08
กลาง

นิธิศ ศรีแย้ม (27) 59 0.06
ประชากรไทย

ร้อยตำรวจตรี เสน่ห์ ชัยทร (29) 58 0.06
ครูไทยเพื่อประชาชน

กิติพันธ์ นันทะสีวะลี (23) 39 0.04
ไทรักธรรม

กิตติพศ กากาเคน (31) 32 0.03
พลังศรัทธา

พันเอก สันติ โอเงิน (19) 30 0.03
แผ่นดินธรรม

วิสุทธิ์ โพธ์ศรี (26) 30 0.03
มหาชน

สันต์สุข ไตรเพทพิสัย (30) 26 0.03
พลังปวงชนไทย

อริยะ ฮุยลัน (20) 20 0.02
ประชาธรรมไทย

อิทธิพล ตัตวธร (28) 20 0.02
มติประชา

รัฐโรจน์ ประสิทธิ์พรกุล (25) 13 0.01
ผลรวม 98,926 100.00
บัตรดี 98,926 95.34
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,186 2.11
บัตรเสีย 2,642 2.55
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 103,754 69.99
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 148,241 100
พลังประชารัฐ

ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์

เขต 8

[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 8 ประกอบด้วยเขตลาดพร้าวและเขตวังทองหลาง (ยกเว้นแขวงพลับพลา)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร เขต 8
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
พลังประชารัฐ

กษิดิ์เดช ชุติมันต์ (2) 29,090 26.77
เพื่อไทย

ร้อยโทหญิงสุณิสา ทิวากรดำรง (6) 26,122 24.04
อนาคตใหม่

เรืออากาศโทธนเดช เพ็งสุข (12) 25,656 23.61
ประชาธิปัตย์

สรรเสริญ สมะลาภา (16)* 15,384 14.16
เศรษฐกิจใหม่

สุมาลี อินทะสุข (22) 5,661 5.21
เสรีรวมไทย

ปิณญาดา ตันติมนตรี (7) 2,338 2.15
ภูมิใจไทย

จิณณา สืบสายไทย (3) 764 0.70
รวมพลังประชาชาติไทย

เจษฎา ศรีสุข (11) 690 0.64
ชาติไทยพัฒนา

วราไพรินทร์ ธนวริสพร (10) 597 0.55
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย


ธนพรรณ ศุณะมาลัย (19) 450 0.41
เพื่อชาติ


วีรินทร์ ตันเสรีสกุล (1) 293 0.27
ชาติพัฒนา

กรกฤษณ์ วงศ์คุณหยก (8) 205 0.19
ประชาชนปฏิรูป


ปราช จันทองจีน (13) 195 0.18
ไทยศรีวิไลย์


ทนงศักดิ์ รักอารมณ์ (14) 171 0.16
ประชาธิปไตยใหม่

ประสิทธิ์ พงษ์สมบัติ (21) 151 0.14
พลังท้องถิ่นไท


วันสว่าง เต็มชำนาญ (15) 129 0.12
ประชาภิวัฒน์

สิทธา แจ้งสุข (5) 105 0.10
ประชาชาติ

ศิรธันย์ แสงสินธุศร (4) 89 0.08
พลังธรรมใหม่

ผนึก ธัญรส (9) 75 0.07
มหาชน

ภิญญาภรณ์ คงพิทักษ์ (26) 73 0.07
กลาง

สนั่น พานทอง (20) 64 0.06
ประชานิยม


ณัฐภรณ์ ชมตระกูล (17) 50 0.05
ภราดรภาพ


รัชพล เกิดศิลป์ (18) 48 0.04
ครูไทยเพื่อประชาชน

ธัญญธร ยุวจิตติ (23) 46 0.04
ประชาธรรมไทย

ชัยชนะ วงศ์จรรยา (30) 43 0.04
พลังชาติไทย

รุ้งเพชร ดิษฐศิริ (24) 36 0.03
พลังรัก

ปริชัย ณิชกุลบุญเพ็ง (25) 31 0.03
พลังศรัทธา

ชัยนิวัตน์ แสนวันนา (34) 25 0.02
พลเมืองไทย

สุธาสินี ลาเสือ (29) 20 0.02
ประชาไทย

สิริอร ลักษมีธนานันต์ (27) 19 0.02
ถิ่นกาขาวชาววิไล

ไพฑูรย์ จันทร์วิบูลย์ (33) 15 0.01
ภาคีเครือข่ายไทย

เบญจพร ชำนิราชกิจ (32) 11 0.01
มติประชา

เบญสิร์ยา อภิปัญรัศมิ์ (31) 10 0.01
เพื่อนไทย

สันติ การะลพ (28)
ผลรวม 108,656 100.00
บัตรดี 108,656 96.50
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,940 1.72
บัตรเสีย 2,009 1.78
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 112,605 74.35
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 151,445 100
พลังประชารัฐ

ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์

เขต 9

[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 9 ประกอบด้วยเขตหลักสี่และเขตจตุจักร (ยกเว้นแขวงจตุจักรและแขวงจอมพล)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร เขต 9
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
พลังประชารัฐ

สิระ เจนจาคะ (6) 34,907 28.44
เพื่อไทย

สุรชาติ เทียนทอง (2)* 32,115 26.16
อนาคตใหม่

กฤษณุชา สรรเสริญ (12) 25,735 20.96
ประชาธิปัตย์

พลตำรวจตรี วิชัย สังข์ประไพ (5) 16,255 13.24
เศรษฐกิจใหม่

ศักดิภัทร์ สวามิวัสดุ์ (20) 5,873 4.78
เสรีรวมไทย

ปัณณธร รัตน์ภูริเดช (13) 2,593 2.11
ภูมิใจไทย

บวรกิตติ์ สันทัด (7) 1,666 1.36
รวมพลังประชาชาติไทย

สุรวัช สุนทรศารทูล (11) 760 0.62
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย


วีรพัส เทพา (15) 578 0.47
ชาติไทยพัฒนา

พลตรี เจริญ สุดโสภา (1) 380 0.31
เพื่อชาติ


ประภัสสร ชูทอง (4) 348 0.28
ชาติพัฒนา

ชุมพล รุ่งวิชานิวัฒน์ (8) 241 0.20
ประชาชนปฏิรูป


ธัชชา ภิรมย์ชาติ (10) 237 0.19
พลังท้องถิ่นไท


ศุภกร จงนภาศิริกูร (9) 170 0.14
ประชาชาติ

นันทวัน อินธิแสง (3) 147 0.12
ประชากรไทย

กฤษฎา แรงสูงเนิน (22) 98 0.08
ประชานิยม


ฐิตินันต์ ชวนอยู่ (16) 81 0.07
พลังประชาธิปไตย

พสันต์ ดิษเจริญ (19) 71 0.06
ครูไทยเพื่อประชาชน

โสพรรณา ทิพย์โยธา (23) 59 0.05
ประชาภิวัฒน์

พิชิต จันทร์ประเสริฐ (14) 58 0.05
พลังสังคม

ธงชัย เสี่ยงเทียนชัย (26) 55 0.04
ภราดรภาพ


ณัฐพล วิสุทธิวงศ์ (17) 54 0.04
พลังชาติไทย

ฐิตินันทน์ แก้วกิตติกาญจนา (24) 52 0.04
ประชาธรรมไทย

รุ่งโรจน์ อิบรอฮีม (28) 49 0.04
พลังไทสร้างชาติ

จ่าสิบเอก ไพบูลย์ ภู่ธงแก้ว (25) 46 0.04
พลังปวงชนไทย

กรรวิการ์ บุตรเนียร (21) 41 0.03
ภาคีเครือข่ายไทย

กนกวรรณ กล่ำเครือ (30) 38 0.03
พลังศรัทธา

สมปอง เพิ่มพูล (27) 25 0.02
มติประชา

อรอุสา งามเบญจวิชัยกุล (18) 23 0.02
มหาชน

ฟ้าใส บินสุมัน (29)
ผลรวม 122,755 100.00
บัตรดี 122,755 96.17
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,482 1.94
บัตรเสีย 2,413 1.89
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 127,650 74.54
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 171,250 100
พลังประชารัฐ

ได้ที่นั่งจาก เพื่อไทย

เขต 10

[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 10 ประกอบด้วยทุกแขวงในพื้นที่ของเขตดอนเมือง

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร เขต 10
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
เพื่อไทย

การุณ โหสกุล (1)✔ 30,800 32.63
พลังประชารัฐ

กนกนุช กลิ่นสังข์ (13) 22,067 23.38
อนาคตใหม่

ธนากร ชินอุดมพร (17) 22,062 23.37
ประชาธิปัตย์

ธัญญ์นิธิ ชวรัตน์นิธิโชติ (11) 14,061 14.90
เสรีรวมไทย

เฉลิมพล อุตรัตน์ (4) 2,326 2.46
รวมพลังประชาชาติไทย

กัญญาภัค ปัญญวัต (3) 627 0.66
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย


ทัศนีย์ พันธุ์เพียร (18) 428 0.45
ไทยศรีวิไลย์


ว่าที่ร้อยตรี กุลเชษฐ จีระออน (8) 257 0.27
ชาติพัฒนา

ชนภัทท์ จันทรุเบกษา (5) 245 0.26
ชาติไทยพัฒนา

พนารัตน์ ยุกตานนท์ (6) 227 0.24
พลังท้องถิ่นไท


ชาลี ชินรุจน์ (10) 183 0.19
ประชาชาติ

วัชรเดช รูปขจร (12) 164 0.17
เพื่อชาติ


กุฎารัศมิ์ กุลฉัตร (7) 129 0.14
ประชาชนปฏิรูป


กนก โพธิสุวรรณ (9) 126 0.13
สยามพัฒนา

นาวาอากาศตรี สมศักดิ์ วัดสังข์ (15) 113 0.12
ประชานิยม


แพ ทับทิมเพ็ชร (16) 107 0.11
ประชาภิวัฒน์

ณฐกร วรอุไร (14) 88 0.09
ภราดรภาพ


ธกร อำพันธ์เปรม (22) 65 0.07
ครูไทยเพื่อประชาชน

นาวาอากาศโท โกสิต แหนผัน (23) 64 0.07
ไทรักธรรม

วชิร สถาวรัตนกุล (29) 60 0.06
แผ่นดินธรรม

สุเมธ พลศิริ (25) 40 0.04
พลังชาติไทย

โอวาท พรหมพินิจ (20) 38 0.04
ประชาธิปไตยใหม่

ปัณณวิชญ์ ไพเราะ (24) 35 0.04
ประชาธรรมไทย

วิสายันต์ นีระวงศ์ (28) 28 0.03
ภาคีเครือข่ายไทย

ไพบูลย์ บรรจง (27) 26 0.03
ประชาไทย

ภูวรา มาตรศรี (26) 16 0.02
มติประชา

วินิต รัตนวงศ์ (19) 8 0.01
ภูมิใจไทย

นิกกี้ จ้อยเอม (2)
เศรษฐกิจใหม่

ปภาวรินท์ กลิ่นฟุ้ง (21)
ผลรวม 94,390 100.00
บัตรดี 94,390 93.32
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,056 2.03
บัตรเสีย 4,704 4.65
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 101,150 73.83
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 136,995 100
เพื่อไทย

ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์

เขต 11

[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 11 ประกอบด้วยทุกแขวงในพื้นที่ของเขตสายไหม

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร เขต 11
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
เพื่อไทย

นาวาอากาศเอก อนุดิษฐ์ นาครทรรพ (12)* 34,679 30.58
อนาคตใหม่

นิกม์ แสงศิรินาวิน (13) 25,098 22.13
ประชาธิปัตย์

สมชาย เวสารัชตระกูล (8) 24,815 21.88
พลังประชารัฐ

อิทธิพัทธ์ เศรษฐยุกานนท์ (7) 18,960 16.72
เศรษฐกิจใหม่

สมชาย ยนวิลาศ (19) 4,141 3.65
เสรีรวมไทย

ชูเดช พันทวี (4) 2,363 2.08
ภูมิใจไทย

ฉัตรวัชร์ ศรีธนะเวทย์ (10) 661 0.58
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย


ธนนริศร์ ทิมทองกุลเสฏฐ์ (21) 361 0.32
เพื่อชาติ


ภาคิน นิธิโชติการ (9) 354 0.31
รวมพลังประชาชาติไทย

ธัชนนท์ สว่างศรี (2) 336 0.30
ประชาชนปฏิรูป


สุมาตร จงนบกลาง (11) 217 0.19
ประชาชาติ

อรรถภพ ว่องธนวณิช (1) 173 0.15
ชาติไทยพัฒนา

แปลก มาลีสี (6) 173 0.15
ไทยศรีวิไลย์


สิริสุข จันทร์แดง (30) 160 0.14
ชาติพัฒนา

พลโท อนุมนตรี วัฒนศิริ (15) 130 0.11
พลังท้องถิ่นไท


ศักดิ์ชาย อินทะแพทย์ (14) 124 0.11
ประชาธิปไตยใหม่

นวพัฒน์ มโนหวัน (18) 84 0.07
ประชาภิวัฒน์

สำราญ พีระเพ็ญกุล (3) 78 0.07
พลังชาติไทย

กิตติภพ สิงอ่อน (17) 72 0.06
ประชานิยม


ดุษฎี อังคณาวิศัลย์ (16) 69 0.06
พลังธรรมใหม่

พรทิพย์ ศรีสวัสดิ์ (5) 64 0.06
พลังศรัทธา

กษาปณ์ บริบูรณ์ (28) 62 0.06
ภราดรภาพ


ธันย์สิตา ชัยภูวเวโรจน์ (24) 40 0.04
ครูไทยเพื่อประชาชน

อำนาจ สุดใจนาค (22) 38 0.03
สามัญชน

เอกวัฒน์ พิมพ์สวรรค์ (29) 37 0.03
ประชาธรรมไทย

ทัศนีย์วรรณ ชมดี (27) 33 0.03
ภาคีเครือข่ายไทย

พิทยา เชิดชูบัณฑิต (31) 26 0.02
ประชาไทย

กัญญา ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา (25) 23 0.02
พลังปวงชนไทย

กิตติธร เตชะกฤตเมธีพงศ์ (20) 19 0.02
พลังไทสร้างชาติ

สิบเอก สิทธิชัย แสงพันธุ์ (26) 18 0.02
ไทยรักษาชาติ

ขัตติยดา ไชยโย (23)
ผลรวม 113,408 100.00
บัตรดี 113,408 95.99
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,744 1.48
บัตรเสีย 2,994 2.53
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 118,146 73.29
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 161,204 100.00
เพื่อไทย

รักษาที่นั่ง

เขต 12

[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 12 ประกอบด้วยทุกแขวงในพื้นที่ของเขตบางเขน

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร เขต 12
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
เพื่อไทย

อนุสรณ์ ปั้นทอง (8)* 30,254 27.03
อนาคตใหม่

เอราวัณ วานิชย์หานนท์ (1) 27,629 24.69
พลังประชารัฐ

นพวรรณ หัวใจมั่น (12) 27,571 24.64
ประชาธิปัตย์

รัฐพงศ์ ระหงษ์ (6) 11,075 9.90
เศรษฐกิจใหม่

วัชรินทร์ อนันต์หน่อ (24) 5,174 4.62
ภูมิใจไทย

ปราณี เชื้อเกตุ (11) 4,057 3.63
เสรีรวมไทย

ธนกฤต ธนิศราพงศ์ (13) 2,394 2.14
รวมพลังประชาชาติไทย

ณัฐกร มั่นจิตต์ (4) 625 0.56
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย


สมบัติ ตั้งก่อเกียรติ (14) 510 0.46
พลังท้องถิ่นไท


ประสพโชค ธรรมรักษา (9) 436 0.39
ชาติไทยพัฒนา

วริยดา สาสิงห์ (7) 345 0.31
เพื่อชาติ


ปิยะพงษ์ สาครเย็น (3) 304 0.27
ชาติพัฒนา

สมศักดิ์ ภมรเรวดี (5) 181 0.16
ประชากรไทย

สอาด คงสกุล (32) 145 0.13
ประชาชนปฏิรูป


ปรีดา ลิ้มนนทกุล (16) 143 0.13
พลังธรรมใหม่

ณัฐดนัย ชนิตร์วัฒน์ (2) 139 0.12
ประชาชาติ

มนตรี บุญจรัส (10) 127 0.11
ประชาภิวัฒน์

ธนาวุฒิ อาจจำเนียร (28) 118 0.11
ประชาธิปไตยใหม่

อิทธิพงศ์ พงษ์สมบัติ (21) 106 0.09
พลังไทยรักไทย

วิมลทิพย์ มนมณีไทย (27) 78 0.07
ประชาไทย

อนุภาพ วรรณวิชิต (29) 63 0.06
ทางเลือกใหม่

วชิระ แซ่ตั้ง (22) 58 0.05
ประชาธรรมไทย

เดชาธร รุ่งสว่างหิรัณย์ (30) 56 0.05
ครูไทยเพื่อประชาชน

กนิษฐา ทองอินทร์ (26) 47 0.04
ประชานิยม


อัคราเชนทร์ ปิ่นวันนา (20) 41 0.04
พลังชาติไทย

สุชาติ ตาคำ (25) 41 0.04
ภาคีเครือข่ายไทย

สิริรัชช์กร อริยธนันกร (33) 37 0.03
มหาชน

ธีติมา พวงเพชรลาภ (15) 30 0.03
ภราดรภาพ


เอนก สนามชัย (18) 30 0.03
พลังปวงชนไทย

กิตติพงศ์ ท่าพิกุล (23) 30 0.03
พลังไทสร้างชาติ

วิชัย ศุขะพันธุ์ (31) 28 0.03
เพื่อแผ่นดิน


พรตชนก จินดาวรรณ (19) 27 0.02
มติประชา

นาตยา มาลีแย้ม (17) 16 0.01
ผลรวม 111,915 100.00
บัตรดี 111,915 95.83
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,251 1.93
บัตรเสีย 2,620 2.24
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 116,786 74.69
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 156,352 100.00
เพื่อไทย

รักษาที่นั่ง

เขต 13

[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 13 ประกอบด้วยเขตบางกะปิและเขตวังทองหลาง (เฉพาะแขวงพลับพลา)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร เขต 13
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
พลังประชารัฐ

ฐิติภัสร์ โชติเดชาชัยนันต์ (9) 27,489 26.12
เพื่อไทย

ตรีรัตน์ ศิริจันทโรภาส (5) 23,912 22.72
อนาคตใหม่

ณิชชา บุญลือ (10) 23,707 22.53
ประชาธิปัตย์

พริษฐ์ วัชรสินธุ (8) 17,958 17.06
เศรษฐกิจใหม่

นิตยา ชูกำเหนิด (21) 4,803 4.56
เสรีรวมไทย

เบญจรงค์ สวัสดิ์พาณิชย์ (17) 2,091 1.99
ประชาชาติ

วรลักษณ์ ศรีสอาด (14) 1,544 1.47
ภูมิใจไทย

อัครกฤษ นุ่นจันทร์ (6) 918 0.87
รวมพลังประชาชาติไทย

เกตินิคม กฤษณะเศรณี (2) 677 0.64
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย


อภินันท์ ปลอดเปลี่ยว (16) 333 0.32
เพื่อชาติ


พิมานมาศ ภิญญาวัฒน์ (1) 253 0.24
ชาติไทยพัฒนา

ร้อยตำรวจเอก ศักดิ์ชัย จีรพรชัย (4) 237 0.23
ประชาชนปฏิรูป


ภัทรวรรธน์ ประวาหะนาวิน (15) 179 0.17
พลังธรรมใหม่

พรประชา พรรษาสกุล (7) 129 0.12
ชาติพัฒนา

พรเทพ จันทรนิภ (12) 129 0.12
พลังท้องถิ่นไท


กร ศิรินาม (13) 119 0.11
พลังประชาธิปไตย

พิทักษ์ สุริยันต์ (25) 101 0.10
ประชาภิวัฒน์

สมธีร์ แก้วกา (11) 93 0.09
พลังไทยรักไทย

ธนาวุฒิ บุญฤทธิ์ (24) 82 0.08
พลเมืองไทย

เรวัต ปิยโชติสกุลชัย (29) 75 0.07
ทางเลือกใหม่

อานนท์ ไชยดวง (22) 71 0.07
ประชาธิปไตยใหม่

สมยงค์ ชมภูวิเศษ (20) 57 0.05
เพื่อแผ่นดิน


อรรถ ชาญวิชัย (3) 52 0.05
ครูไทยเพื่อประชาชน

กิตติชัย สิงหบุตร (23) 48 0.05
ประชานิยม


ศิรินทร อินทร (19) 37 0.04
ภราดรภาพ


สรสัณห์ อาภาภิรม (18) 32 0.03
ไทรักธรรม

มนตรี ศิริวัฒนาวรากร (31) 27 0.03
พลังชาติไทย

เลิศเดช รักไทย (26) 26 0.02
พลังปวงชนไทย

คมฐณิษฎ์ ภษิกุญ (28) 25 0.02
มหาชน

ธีรพัฒน์ บุญภิรักษ์ (27) 21 0.21
ประชาธรรมไทย

จอมพจน์ สร้อยสุวรรณ (30) 13 0.01
ผลรวม 105,238 100.00
บัตรดี 105,238 96.31
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,906 1.74
บัตรเสีย 2,286 2.09
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 109,266 71.48
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 152,869 100.00
พลังประชารัฐ

ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์

เขต 14

[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 14 ประกอบด้วยเขตบึงกุ่มและเขตคันนายาว (เฉพาะแขวงรามอินทรา)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร เขต 14
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
เพื่อไทย

พลภูมิ วิภัติภูมิประเทศ (5)* 31,445 28.10
พลังประชารัฐ

ณริช ผลานุรักษา (9) 25,908 23.15
อนาคตใหม่

ศุภชัย กุลโชควณิช (10) 24,461 21.86
ประชาธิปัตย์

พรพรหม ณ.ส. วิกิตเศรษฐ์ (6) 13,375 11.95
รวมพลังประชาชาติไทย

แมน เจริญวัลย์ (14) 5,518 4.93
เศรษฐกิจใหม่

สุพจน์ อินทะสุข (23) 4,767 4.26
เสรีรวมไทย

ทัฬอิญ จิรเปรมธนิก (4) 2,424 2.17
ภูมิใจไทย

ชูชีพ ตรีโภคา (8) 1,332 1.19
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย


ว่าที่ร้อยโท วีรพล วงษ์มะเซาะ (19) 368 0.33
ประชาชนปฏิรูป


ประทีป มุสิกชาติ (13) 230 0.21
ชาติไทยพัฒนา

ปองเดช ภิรมย์ (11) 225 0.20
ประชาชาติ

สรายุทธ์ นาทะพันธ์ (1) 206 0.18
ไทยศรีวิไลย์


ตฤณธัป เทพประสิทธิ์ (16) 202 0.18
อนาคตไทย

ประวัติ เทียนขุนทด (20) 198 0.18
ชาติพัฒนา

ณปภัช จำปา (7) 159 0.14
เพื่อชาติ


ชวิศ ชุมพล (15) 140 0.13
พลังประชาธิปไตย

พีราวิชญ์ ปัจฉิมนันท์ (21) 134 0.12
พลังท้องถิ่นไท


ชิดชนก รัตนวราหะ (25) 129 0.12
พลังธรรมใหม่

อำนวย อินทสร (12) 85 0.08
ประชาภิวัฒน์

ฉวีวรรณ อิ่มชื่น (3) 80 0.07
พลังชาติไทย

วีระ อินทรโสภา (22) 71 0.06
ประชาธิปไตยใหม่

อภิรักษ์ เวียงพล (24) 53 0.05
พลเมืองไทย

จิตติมา หมั่นดี (29) 50 0.04
ครูไทยเพื่อประชาชน

ธนพัต สารกิจอาภา (26) 48 0.04
ภราดรภาพ


อัญชัญ ชูสกุล (2) 44 0.04
ประชานิยม


ธรรมศักดิ์ เติมจิตรอารีย์ (18) 44 0.04
ประชาธรรมไทย

รัชธิวรรษ์ รุ่งธีรกุล (30) 44 0.04
มหาชน

ณัฐวรรธน์ ถิระวัฒน์ (17) 35 0.03
ไทรักธรรม

นิติธร เชื้อตาพระ (33) 27 0.02
ถิ่นกาขาวชาววิไล

กันตพงศ์ คลอวุฒิวัฒน์ (32) 20 0.02
พลังไทสร้างชาติ

พิสมัย ศุขะพันธุ์ (28) 19 0.02
ภาคีเครือข่ายไทย

พรรณี จิตตะ (31) 10 0.01
เพื่อนไทย

สราวุธ สุวิทยารัตน์ (27)
ผลรวม 111,901 100.00
บัตรดี 111,901 96.12
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,954 1.68
บัตรเสีย 2,615 2.25
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 116,420 74.64
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 155,974 100.00
เพื่อไทย

รักษาที่นั่ง

เขต 15

[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 15 ประกอบด้วยเขตมีนบุรีและเขตคันนายาว (เฉพาะแขวงคันนายาว)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร เขต 15
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
พลังประชารัฐ

ชาญวิทย์ วิภูศิริ (12) 31,551 31.41
เพื่อไทย

วิชาญ มีนชัยนันท์ (6)* 30,123 29.99
อนาคตใหม่

อิงควัศ อมาตยกุล (2) 21,186 21.09
ประชาธิปัตย์

ธนัตถ์ ธนากิจอำนวย (1) 8,949 8.91
เศรษฐกิจใหม่

วุฒิชัย จุลวงศ์ (20) 3,557 3.54
เสรีรวมไทย

คณิต สุขรัตน์ (13) 1,925 1.92
ภูมิใจไทย

พงศ์ไพศาล มะลูลีม (7) 627 0.63
รวมพลังประชาชาติไทย

ภัทพร ธนวัฒน์ธาดา (16) 367 0.37
ประชาชาติ

ทัศนีย์ ชลายนเดชะ (11) 320 0.32
ชาติพัฒนา

กันตชนม์ ศิวะพิมล (9) 260 0.26
ประชาภิวัฒน์

ว่าที่ร้อยตรี ศิริชัย เอมสอาด (5) 219 0.22
ไทยศรีวิไลย์


บัณฑิตพงศ์ พรพิรุณ (15) 209 0.21
เพื่อชาติ


สำคัญต่อชาติ เอี่ยมอ่ำ (8) 169 0.17
ชาติไทยพัฒนา

กอบชัย ซาบุตร (14) 119 0.12
พลังประชาธิปไตย

ณรงค์ วงศ์แดง (17) 116 0.12
ประชาชนปฏิรูป


พัลลภ มีพันธ์ (10) 111 0.11
พลังปวงชนไทย

ชัยพงษ์ นาสวัสดิ์ (21) 90 0.09
มหาชน

กัญรภัส ด้วงมหาสอน (26) 81 0.08
ประชานิยม


สุรินทร์ งามขำ (4) 77 0.08
พลังท้องถิ่นไท


กัญญฌัช พรารักษ์ (3) 76 0.08
พลังชาติไทย

ปณัฎฎา อิลาชาน (22) 71 0.07
ไทรักธรรม

เสาวลักษณ์ เทศชาติ (32) 50 0.05
พลเมืองไทย

พิมพ์ลดา จันทร์ศิริกุล (28) 34 0.03
ภาคีเครือข่ายไทย

สุริยา จันทรเสนา (30) 32 0.03
ครูไทยเพื่อประชาชน

ธน สารกิจอาภา (23) 26 0.03
กลาง

สุรัสวดี ตรีเหรา (25) 24 0.02
ภราดรภาพ


อิสรีย์ โชติพันธุ์ (29) 19 0.02
ประชาธิปไตยใหม่

พรศิริ จตุรพิพิธพรชัย (18) 17 0.02
พลังสังคม

สัจจวัฒน์ แป้นประเสริฐ (24) 16 0.02
พลังรัก

ภิรมย์ หัทยานนท์ (27) 15 0.02
ถิ่นกาขาวชาววิไล

สุชาติ สามสี (31) 11 0.01
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย


พรรณภา กั้วพิศมัย (19)
ผลรวม 100,447 100.00
บัตรดี 100,447 95.83
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,663 1.59
บัตรเสีย 2,700 2.58
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 104,810 75.18
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 139,406 100
พลังประชารัฐ

ได้ที่นั่งจาก เพื่อไทย

เขต 16

[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 16 ประกอบด้วยทุกแขวงในพื้นที่ของเขตคลองสามวา

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร เขต 16
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
เพื่อไทย

จิรายุ ห่วงทรัพย์ (6)* 31,481 28.71
พลังประชารัฐ

เกศกานดา อินช่วย (11) 29,304 26.73
อนาคตใหม่

วาทิศ ธนกิจกาศมณี (13) 26,352 24.04
ประชาธิปัตย์

ฮูวัยดีย๊ะ พิศสุวรรณ อุเซ็ง (12) ✔️ 10,683 9.74
เศรษฐกิจใหม่

นาวาอากาศเอกพิเศษ ผดุง แสนสุข (22) 4,389 4.00
เสรีรวมไทย

นิพัทธ์พนธ์ สุวรรณชนะ (5) 2,652 2.42
รวมพลังประชาชาติไทย

กิตติศักดิ์ ทาทิพย์ (10) 1,241 1.13
ภูมิใจไทย

บุญมี พิบูลย์คณารักษ์ (4) 876 0.80
ชาติพัฒนา

ปริญญา มานวงค์ (9) 363 0.33
ประชาชาติ

ฐาคณิษฐ์ พรทองประเสริฐ (1) 329 0.30
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย


ทัดดาว พุ่มสอาด (16) 281 0.26
ชาติไทยพัฒนา

เทวา ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา (3) 245 0.22
ประชาชนปฏิรูป


ธนพล นิมิตตานนท์ (7) 145 0.13
พลังท้องถิ่นไท


ธนพล ธราพร (14) 134 0.12
ประชาธิปไตยใหม่

ศุภโชค มุ่งดี (23) 116 0.11
เพื่อชาติ


เตชะธร สุขชัยศรี (17) 108 0.10
ประชาภิวัฒน์

ว่าที่ร้อยตำรวจตรี กอบโชค บุญจันทร์ (8) 106 0.10
พลังไทยรักไทย

จารุพรรณ แซ่เบ๊ (25) 106 0.10
ครูไทยเพื่อประชาชน

ณัฏฐ์รดา ประเสริฐธิติพร (24) 97 0.09
แผ่นดินธรรม

สุพรรณพิมพ์ เสนาะพิน (26) 94 0.09
พลังชาติไทย

สุรกฤษฏิ์ มาลีสี (19) 78 0.07
พลังไทยรักชาติ

สาคเรศ แป้นบางนา (20) 73 0.07
ประชานิยม


รสริน วงค์เมตตา (18) 72 0.07
ภาคีเครือข่ายไทย

มิณชิตา รุ่งรัตน์ธร (31) 71 0.06
ภราดรภาพ


นพฤทธิ์ แพทยานนท์ (2) 69 0.06
พลังธรรมใหม่

ร้อยตำรวจตรี รัชต์ทพงษ์ โพธิ์ชัยจตุภัทร (28) 52 0.05
ประชาธรรมไทย

สมเนศ พงค์เกื้อ (30) 40 0.04
ถิ่นกาขาวชาววิไล

รุ่งฤดี กิตธารเมธี (15) 33 0.03
มหาชน

พรชัย พยนต์ภาค (27) 29 0.03
พลังไทสร้างชาติ

ณัฐมน เจียมจิรอานนท์ (29) 19 0.02
ผลรวม 109,638 100.00
บัตรดี 109,638 95.83
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,995 1.74
บัตรเสีย 2,782 2.43
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 114,493 74.95
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 152,759 100
เพื่อไทย

รักษาที่นั่ง

เขต 17

[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 17 ประกอบด้วยทุกแขวงในพื้นที่ของเขตหนองจอก

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร เขต 17
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
พลังประชารัฐ

ศิริพงษ์ รัสมี (10) 25,329 27.73
เพื่อไทย

ไพโรจน์ อิสระเสรีพงษ์ (9)* 24,610 26.95
อนาคตใหม่

จุฬาลักษณ์ รุ่งเรืองมงคล (1) 18,391 20.14
ประชาธิปัตย์

เบญญาภา เกษประดิษฐ (6) 8,868 9.71
รวมพลังประชาชาติไทย

วสันต์ มีวงษ์ (4) 7,190 7.87
เศรษฐกิจใหม่

ถนอม หนวดงาม (26) 2,070 2.27
เสรีรวมไทย

เสนาะ เพ็ชบุรี (7) 1,781 1.95
ประชาชาติ

วัฒนโชติ เจริญวงษ์ (20) 732 0.80
พลังประชาธิปไตย

ชุมพล พุฒซ้อน (3) 306 0.34
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย


สมัย เปลี่ยนเดชา (5) 223 0.24
ไทยศรีวิไลย์


ธนวัฒน์ พุกอุย (18) 179 0.20
ประชาธรรมไทย

สุรชัย บัวเจริญ (30) 174 0.19
พลังปวงชนไทย

เทเวศวร์ ทองศรี (2) 159 0.17
พลังท้องถิ่นไท


บุษบา พุ่มพวง (14) 142 0.16
กลาง

กัณฑ์ พรหมสุวรรณ์ (29) 126 0.14
พลังไทยรักชาติ

โรจน์ภูริจินดา สหฐานมณี (21) 121 0.13
เพื่อชาติ


เพชรพงษ์ พงษ์สิทธิศักดิ์ (17) 108 0.12
ชาติไทยพัฒนา

อวยชัย ปิยธรรมชัย (16) 96 0.11
พลังธรรมใหม่

พูนลาภ สุมะนะ (11) 89 0.10
ชาติพัฒนา

ชัชชัย ธรรมแสงสีเงิน (13) 88 0.10
ประชานิยม


วิภาค ตันติกิจชาญชัย (15) 67 0.07
ประชากรไทย

กุสุมา เด่นเจริญ (25) 65 0.07
ประชาชนปฏิรูป


ภูวกร รัตนพานิช (12) 60 0.07
ครูไทยเพื่อประชาชน

สุกัญญา อินมณเฑียร (24) 58 0.06
ประชาธิปไตยใหม่

วารี หงษ์กลาง (22) 56 0.06
พลังชาติไทย

สุรพล โชติช่วง (23) 41 0.05
ภราดรภาพ


พลอยปภัค เจนวิวัฒน์สกุล (19) 37 0.04
ประชาภิวัฒน์

เบญจพรรณ นิวัติศัยวงศ์ (27) 32 0.04
ไทรักธรรม

ศุภกรชนา จำปาแก้ว (36) 32 0.04
พลังไทสร้างชาติ

ธนดล จันทร์สุนทร (28) 30 0.03
แทนคุณแผ่นดิน

กนกวรรณ กลิ่นสาท (33) 28 0.03
มหาชน

อิษยา ทิพย์สุโข (31) 15 0.02
ภาคีเครือข่ายไทย

นิตยา ทองอ้ม (34) 15 0.02
ถิ่นกาขาวชาววิไล

ชนะโชค ศรีสุวรรณรัตน์ (35) 12 0.01
ภูมิใจไทย

สุรชัย เปล่งแสง (8)
พลเมืองไทย

นภาพร วัฒนสิงหะ (32)
ผลรวม 91,330 100.00
บัตรดี 91,330 93.86
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,652 1.70
บัตรเสีย 4,322 4.44
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 97,302 74.55
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 130,512 100
พลังประชารัฐ

ได้ที่นั่งจาก เพื่อไทย

เขต 18

[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 18 ประกอบด้วยทุกแขวงในพื้นที่ของเขตลาดกระบัง

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร เขต 18
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
เพื่อไทย

ธีรรัตน์ สำเร็จวาณิชย์ (15)* 35,361 37.21
อนาคตใหม่

เอกฤทธิ เจียกขจร (11) 22,346 23.52
พลังประชารัฐ

วิสูตร สำเร็จวาณิชย์ (1) 20,739 21.82
ประชาธิปัตย์

อนันต์ ฤกษ์ดี (9) 7,295 7.68
เศรษฐกิจใหม่

พิมพ์ชยา สุรสาระพันธุ์ (29) 3,119 3.28
เสรีรวมไทย

วันชัย รัตนขจรไชย (2) 2,143 2.26
รวมพลังประชาชาติไทย

สุเทพ บรรจง (14) 955 1.00
ภูมิใจไทย

สมศักดิ์ ศรีสมุทร์ (8) 603 0.63
ชาติไทยพัฒนา

เชาวฤทธิ์ ทรงนวรัตน์ (3) 275 0.29
ไทยศรีวิไลย์


อนันต์ หลงพันธ์ (22) 275 0.29
เพื่อชาติ


สนองพล การะเกษ (13) 256 0.27
ประชาชาติ

ธนวัฒน์ ศรีสุข (4) 229 0.24
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย


บุญเกิด โรจนดิษฐ์ (6) 214 0.23
ชาติพัฒนา

ณเดโช ตันต้นตระกูล (10) 180 0.19
พลังท้องถิ่นไท


นาวาอากาศตรี ปุญณัฐส์ นำพา (5) 179 0.19
ครูไทยเพื่อประชาชน

สุรสีห์ ธรรมวงษ์ศา (21) 137 0.14
พลเมืองไทย

พิมพ์นุชา ธรรมโชติ (25) 124 0.13
พลังธรรมใหม่

พุฒิพรชัย พัฒนาบุญไพบูลย์ (7) 105 0.11
ประชาธิปไตยใหม่

สิรพัชร ชมภูวิเศษ (17) 72 0.08
ประชาชนปฏิรูป


ปิ่นญาภรณ์ บารมีนิธิวัฒน์ (19) 71 0.07
ประชาภิวัฒน์

มัธชัยยะ อุ่นซิม (12) 69 0.07
พลังชาติไทย

สมประสงค์ ผดุงตระกูล (20) 59 0.06
ประชานิยม


กันตพงศ์ เกิดเจริญ (16) 58 0.06
ประชาธรรมไทย

ไสว เงินสยาม (24) 47 0.05
พลังไทสร้างชาติ

สิริกร ชัยรัตน์ (23) 30 0.03
มหาชน

ยุพวรรณ รักติประกร (26) 28 0.03
ภราดรภาพ


ถนอมชัย เลิศลักขณากุล (18) 22 0.02
ไทรักธรรม

ภูษณิศา นิ่มเจริญ (28) 19 0.02
ภาคีเครือข่ายไทย

วิไล ชื่นชม (27) 15 0.02
ผลรวม 95,025 100.00
บัตรดี 95,025 95.63
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,648 1.66
บัตรเสีย 2,691 2.71
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 99,364 72.95
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 136,200 100.00
เพื่อไทย

รักษาที่นั่ง

เขต 19

[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 19 ประกอบด้วยเขตสะพานสูงและเขตประเวศ (เฉพาะแขวงประเวศ)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร เขต 19
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
พลังประชารัฐ

ประสิทธิ์ มะหะหมัด (9) 28,203 27.89
อนาคตใหม่

สุรกฤณ ลิมปรัทกาญจนา (3) 23,554 23.29
เพื่อไทย

วิตต์ ก้องธรนินทร์ (1) 21,839 21.60
ประชาธิปัตย์

นาถยา แดงบุหงา (14)* 16,284 16.10
เศรษฐกิจใหม่

อาศิระ ประวัติยากูร (20) 5,082 5.03
เสรีรวมไทย

ปรีชาชัย พิพรรธน์ธนาดุล (16) 2,094 2.07
รวมพลังประชาชาติไทย

ปราโมทย์ บุญชู (5) 957 0.95
ภูมิใจไทย

สามารถ หวังพิทักษ์ (8) 767 0.76
ประชาชาติ

มูฮัมหมัดรุสดี เชคฮารูณ (17) 352 0.35
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย


มัทนา ศรีกระจ่าง (11) 341 0.34
ชาติพัฒนา

เขมจิรา พชรจรวยพร (10) 211 0.21
ชาติไทยพัฒนา

นพดล วรศรี (7) 174 0.17
ประชาชนปฏิรูป


คำออน แก้วอินศรี (12) 171 0.17
เพื่อชาติ


ตะวัน กาญจนะโกมล (6) 168 0.17
ประชาภิวัฒน์

แมน สมจิตต์ (2) 105 0.10
พลังธรรมใหม่

ทวี พัฒนาบุญไพบูลย์ (13) 102 0.10
พลังท้องถิ่นไท


ไพฑูรย์ ดาณีสมัน (15) 99 0.10
ครูไทยเพื่อประชาชน

ชาย โมระศิลปิน (21) 87 0.09
พลังไทยรักไทย

สุภาวดี บางใหญ่ (22) 86 0.09
ประชาธิปไตยใหม่

ศรศิลป์ สายตา (24) 75 0.07
เพื่อแผ่นดิน


วันชัย รัตนเมธีดล (4) 66 0.07
ประชานิยม


รุ่งทิวา อำนวยพร (19) 54 0.05
พลังไทสร้างชาติ

มารุด ปาทาน (29) 49 0.05
พลังชาติไทย

บวรวิช รักไทย (25) 47 0.05
มหาชน

วีระ เชื้อนุ่น (23) 46 0.05
ภราดรภาพ


ไชยพร พรตรีสัตย์ (18) 39 0.04
ไทรักธรรม

ยุพิน คงแก้ว (30) 32 0.03
พลเมืองไทย

ธีรเสฏฐ์ เนตรทอง (26) 19 0.02
ประชาธรรมไทย

ปริญสิรา สังข์อ่ำ (28) 14 0.01
ภาคีเครือข่ายไทย

ทัตเทพ รติภูมิ (27) 10 0.01
ผลรวม 101,127 100.00
บัตรดี 101,127 96.21
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,820 1.73
บัตรเสีย 2,167 2.06
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 105,114 74.38
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 141,319 100
พลังประชารัฐ

ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์

เขต 20

[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 20 ประกอบด้วยเขตสวนหลวงและเขตประเวศ (ยกเว้นแขวงประเวศ)

ทั้งนี้ ภายหลังที่ศาลรัฐธรรมนูญมีคำสั่งให้ยุบพรรคอนาคตใหม่ ผู้ได้รับเลือกตั้ง ร้อยตำรวจตรี มณฑล โพธิ์คาย ได้ย้ายเข้าสังกัดพรรคภูมิใจไทยเมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563[3]

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร เขต 20
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
อนาคตใหม่

ร้อยตำรวจตรี มณฑล โพธิ์คาย (2) 40,483 35.51
พลังประชารัฐ

ธันวา ไกรฤกษ์ (6) 29,557 25.93
ประชาธิปัตย์

สามารถ มะลูลีม (11)* 18,548 16.27
เศรษฐกิจใหม่

ทิพยวรรณ แสงสาคร (23) 6,879 6.03
เสรีรวมไทย

ศตคุณ จูฑะพุทธิ (3) 5,447 4.78
เพื่อชาติ


นภาพัฒน์ เอนกพงษ์ (1) 5,130 4.50
ภูมิใจไทย

ณัทวุฒิ หมัดนุรักษ์ (13) 3,365 2.95
พลังไทยรักไทย

ศักดิ์สิทธิ์ มงคล (4) 1,130 0.99
รวมพลังประชาชาติไทย

ณรงค์ จงแจ่มฟ้า (8) 872 0.76
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย


ณฐกร แพรไพศาล (5) 473 0.41
ประชาชาติ

ตอฮา นาคนาวา (12) 426 0.37
ชาติพัฒนา

พงษ์สวัสดิ์ วงศ์ธีระสูตร (9) 329 0.29
ชาติไทยพัฒนา

วรทัศน์ ทิมกระจ่าง (14) 217 0.19
ประชาชนปฏิรูป


บัญญัติ ทองประสงค์ (10) 216 0.19
ประชาภิวัฒน์

อธิภพ บัวเผื่อน (4) 133 0.12
ประชาธิปไตยใหม่

นฤมล ถึกวิถาน (17) 90 0.08
พลังท้องถิ่นไท


ภูมิเศรษฐ พุทธวงศ์ (15) 89 0.08
พลังไทสร้างชาติ

ดุริยา เสนาะยนต์ (22) 80 0.07
แผ่นดินธรรม

สัญญา พุทธเจริญลาภ (26) 75 0.07
ครูไทยเพื่อประชาชน

ศศิมา โรจนรัตน์ (25) 66 0.06
มหาชน

ทินนาถ วัฒนวิทย์ (16) 65 0.06
กลาง

เผ่าชนะ ชูเวช (30) 55 0.05
พลังชาติไทย

สอาด อาจวงษ์ (18) 54 0.05
ไทรักธรรม

กิตติธัช ณรงค์ชัย (31) 53 0.05
ประชาธรรมไทย

ศราวุธ นาวากิจกุล (24) 49 0.04
ภราดรภาพ


สมใจ ชื่นศรีสว่าง (29) 37 0.03
ประชานิยม


ธนัท วงษ์วานิชขจร (19) 24 0.02
พลเมืองไทย

จักรกฤษ ขันอาสา (28) 23 0.02
ถิ่นกาขาวชาววิไล

จิรดา พุฒตาล (20) 18 0.02
ภาคีเครือข่ายไทย

เสฎฐวุฒิ แซ่อึ้ง (27) 8 0.01
ไทยรักษาชาติ

ธกร เลาหพงศ์ชนะ (7)
ผลรวม 113,991 100.00
บัตรดี 113,991 94.89
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,435 2.03
บัตรเสีย 3,699 3.08
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 120,125 71.24
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 168,611 100
อนาคตใหม่

ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์

เขต 21

[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 21 ประกอบด้วยเขตพระโขนงและเขตบางนา

ทั้งนี้ ภายหลังที่ศาลรัฐธรรมนูญมีคำสั่งให้ยุบพรรคอนาคตใหม่ ผู้ได้รับเลือกตั้ง นายสมเกียรติ ถนอมสินธุ์ ได้ย้ายเข้าสังกัดพรรคก้าวไกลในวันที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2563[2]

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร เขต 21
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
อนาคตใหม่

สมเกียรติ ถนอมสินธุ์ (5) 35,702 36.07
พลังประชารัฐ

จักรีรัตน์ แสงวารี (2) 28,944 29.25
ประชาธิปัตย์

สุทธิ ปัญญาสกุลวงศ์ (6)* 14,339 14.49
เศรษฐกิจใหม่

ณัฏฐิยา จยะสกุล (17) 6,387 6.45
เพื่อชาติ


ณัฐภัสสร ธนาบวรพาณิชย์ (1) 5,514 5.57
เสรีรวมไทย

ศิวโรจณ์ แสงจรัสโชติ (9) 4,263 4.31
ภูมิใจไทย

สมัย โกกเจริญพงศ์ (8) 850 0.86
รวมพลังประชาชาติไทย

ศิรพัศ ปัญญาทวีกูล (15) 485 0.49
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย


สวิชญา วาทะพุกกะณะ (14) 426 0.43
ชาติไทยพัฒนา

วาสนา คร้ามวงษ์ (3) 377 0.38
ชาติพัฒนา

ไพลิน ชดช้อย (18) 272 0.27
ประชาชนปฏิรูป


นัทธมน จิระคุณ (10) 225 0.23
พลังธรรมใหม่

ศุภโชติ บริสุทธิ์พงศ์ (4) 197 0.20
ประชาชาติ

ทวีพงศ์ สุธรรมพันธุ์ (7) 182 0.18
พลังชาติไทย

คมค์ปภัส ตั้งธนสิรินนท์ (19) 109 0.11
พลังท้องถิ่นไท


มนิดา ศิริชัยประเสริฐ (21) 93 0.09
ประชาภิวัฒน์

ชยุต ฐิติทรงภพ (11) 83 0.08
ครูไทยเพื่อประชาชน

สุริยา เรียนสร้อย (20) 77 0.08
มหาชน

ณัฐพล ยังน้อย (22) 68 0.07
ประชาธิปไตยใหม่

ทศพล ธรรมธนิศา (24) 68 0.07
ภราดรภาพ


ณัฐวลัย เนียนขาว (23) 61 0.06
ประชานิยม


ชัญญา พงศ์ผลิน (13) 52 0.05
กลาง

บุญเรือง คำศิลา (16) 52 0.05
พลังไทสร้างชาติ

รุ่งทิพย์ กุฎาธารพันธุ์ (25) 49 0.05
พลเมืองไทย

วนิดา แจ่มแจ้ง (27) 48 0.05
ภาคีเครือข่ายไทย

แคทลียา หลุยส์ รีด (26) 45 0.05
ไทยรักษาชาติ

กวีวงศ์ อยู่วิจิตร (12)
ผลรวม 98,968 100.00
บัตรดี 98,968 95.17
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,229 2.14
บัตรเสีย 2,790 2.68
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 103,987 70.68
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 147,104 100
อนาคตใหม่

ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์

เขต 22

[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 22 ประกอบด้วยเขตบางกอกใหญ่ เขตคลองสานและเขตธนบุรี (ยกเว้นแขวงดาวคะนอง แขวงบุคคโลและแขวงสำเหร่)

ทั้งนี้ ภายหลังที่ศาลรัฐธรรมนูญมีคำสั่งให้ยุบพรรคอนาคตใหม่ ผู้ได้รับเลือกตั้ง นายเท่าพิภพ ลิ้มจิตรกร ได้ย้ายเข้าสังกัดพรรคก้าวไกลในวันที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2563[2]

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร เขต 22
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
อนาคตใหม่

เท่าพิภพ ลิ้มจิตรกร (7) 34,368 32.87
พลังประชารัฐ

ศันสนะ สุริยะโยธิน (11) 27,421 26.23
ประชาธิปัตย์

สุรันต์ จันทร์พิทักษ์ (14)* 20,376 19.49
เสรีรวมไทย

วันชัย ชัยณรงค์โลกา (4) 6,488 6.21
เศรษฐกิจใหม่

สุภกิจ สุรจินตนาภรณ์ (23) 6,283 6.01
เพื่อชาติ


เรือเอก สำรวม บุญทัน (15) 2,680 2.56
ภูมิใจไทย

สายรุ้ง ปิ่นโมรา (13) 1,569 1.50
ชาติไทยพัฒนา

จิรเสกข์ วัฒนมงคล (5) 1,445 1.38
รวมพลังประชาชาติไทย

ฤทธิ์กร เทศน์สาลี (2) 599 0.57
ประชาชาติ

พันตำรวจโท วัลลภ ณ นคร (6) 469 0.45
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย


จุมพฏ กระบวนยุทธ เลขะพันธุ์ (17) 398 0.38
ชาติพัฒนา

สุรพล เมฆะอำนวยชัย (9) 374 0.36
ไทยศรีวิไลย์


อโนชา สกุลธนพันธ์ (8) 321 0.31
ทางเลือกใหม่

สมชาย จรุญวงษ์ (3) 277 0.26
ประชาชนปฏิรูป


เปรม ซิงห์กิล (21) 232 0.22
ประชาภิวัฒน์

ร้อยตำรวจโท บุญทวี คณโฑแก้ว (12) 187 0.18
พลังท้องถิ่นไท


โชคชัย อินทรประเสริฐ (1) 178 0.17
พลังชาติไทย

ทวิชนม์ สกุลกัน (24) 177 0.17
พลังไทสร้างชาติ

ทวี สูงหางหว้า (26) 120 0.11
แผ่นดินธรรม

มนต์สัณฑ์ อรรถปรีชาพล (16) 106 0.10
พลเมืองไทย

ลัคนา สฤษฎิ์สุข (28) 79 0.08
สามัญชน

ชุมาพร แต่งเกลี้ยง (28) 71 0.07
กลาง

จันทนา แสนสำราญ (20) 67 0.06
ประชานิยม


กวินรัตน์ หิรัญศิริภาคย์ (18) 56 0.05
ภราดรภาพ


กุลภัสสรณ์ ฤกษ์ศิริรัตน์ (19) 53 0.05
ประชาธรรมไทย

ดนุวัศ จินดาทวีภัทร (27) 46 0.04
ถิ่นกาขาวชาววิไล

ภัทรานิษฐ์ คลอวุฒิวัฒน์ (31) 46 0.04
พลังปวงชนไทย

นัทธพงศ์ ธรรมวณิช (22) 41 0.04
ภาคีเครือข่ายไทย

ภัคจิรา บุณยเพ็ญ (30) 16 0.02
ไทยรักษาชาติ

สราริน ชาลีวรรณ (10)
ครูไทยเพื่อประชาชน

สิริการย์ วสุภิรมย์เมธี (25)
มหาชน

ลาวัลย์ ชุมสาย ณ อยุธยา (29)
ผลรวม 104,543 100.00
บัตรดี 104,453 94.16
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,474 2.23
บัตรเสีย 4,013 3.61
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 111,030 69.70
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 159,302 100
อนาคตใหม่

ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์

เขต 23

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 23 ประกอบด้วยเขตจอมทองและเขตธนบุรี (เฉพาะแขวงดาวคะนอง แขวงบุคคโลและแขวงสำเหร่)

ทั้งนี้ ภายหลังที่ศาลรัฐธรรมนูญมีคำสั่งให้ยุบพรรคอนาคตใหม่ ผู้ได้รับเลือกตั้ง นายโชติพิพัฒน์ เตชะโสภณมณี ได้ย้ายเข้าสังกัดพรรคภูมิใจไทยเมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563[3]

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร เขต 23
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
อนาคตใหม่

โชติพิพัฒน์ เตชะโสภณมณี (1) 27,651 25.25
พลังประชารัฐ

ทิพานัน ศิริชนะ (5) 26,015 23.76
เพื่อไทย

ธวัชชัย ทองสิมา (6) 24,959 22.79
ประชาธิปัตย์

นันทพร วีรกุลสุนทร (4)* 17,247 15.75
เศรษฐกิจใหม่

จักรกฤษ เสริฐศรี (19) 5,617 5.13
เสรีรวมไทย

ธิติพัทธ์ นรวิทย์โชติกุล (10) 3,036 2.77
ภูมิใจไทย

สุวัฒน์ ม่วงศิริ (3)✔ 2,379 2.17
รวมพลังประชาชาติไทย

วีระศักดิ์ แจ่มแจ้ง (9) 425 0.39
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย


ธีรชัย สุโชคชัยกุล (15) 292 0.27
ไทยศรีวิไลย์


นิมิตร นะวะมวัฒน์ (30) 212 0.19
ชาติไทยพัฒนา

กชนารา เล้าสมบูรณ์ (11) 184 0.17
ประชาชนปฏิรูป


สุพัตรา สำเร็จสุข (13) 157 0.14
ประชาชาติ

ศิวะศักย์ แนวจันทร์ (7) 139 0.13
เพื่อชาติ


สินธิชัย บุญประกอบ (8) 134 0.12
ชาติพัฒนา

สราวุฒิ วิรุฬห์ธนวงศ์ (14) 127 0.12
ทางเลือกใหม่

ปิยะพงษ์ เอื้อพูนสิริพัฒน์ (18) 121 0.11
มหาชน

วรินทร์พร จุติธนเสฏฐ์ (25) 107 0.10
พลังไทยรักไทย

ขัตติยาณี สุริหาร (22) 102 0.09
พลังท้องถิ่นไท


อดุลย์ วุฒิเนตร (12) 80 0.07
กลาง

สมสุข สวัสดิ์ใหม่ (17) 78 0.07
ครูไทยเพื่อประชาชน

ฉัตรชัย รัตนสุวรรณ (21) 63 0.06
ประชาธรรมไทย

ธนเดช สิเจริญ (26) 62 0.06
พลังชาติไทย

ภัคจิรา บ่อเกิด (20) 61 0.06
ภราดรภาพ


อัครกิตติ์ ซิ้มเจริญ (2) 56 0.05
ประชานิยม


ลดาพัชร์ สร้อยสุดารัตน์ (16) 52 0.05
พลังไทสร้างชาติ

พันตำรวจเอก ชัยทรัพย์ ธรัช ฤทธิ์เต็ม (24) 52 0.05
ประชาภิวัฒน์

สุปราณี ชนะโรค (24) 35 0.03
ถิ่นกาขาวชาววิไล

สุรศิษย์ คำเสน (27) 27 0.02
ไทรักธรรม

ณัฐวรรธน์ ไวยสุศรี (29) 22 0.02
พลังปวงชนไทย

ณัฐธเดชน์ ศรีกัณย์ชัย (28) 15 0.01
ผลรวม 109,507 100.00
บัตรดี 109,507 95.64
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,131 1.86
บัตรเสีย 2,867 2.50
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 114,505 70.55
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 162,298 100
อนาคตใหม่

ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์

เขต 24

[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 24 ประกอบด้วยเขตราษฎร์บูรณะและเขตทุ่งครุ

ทั้งนี้ ภายหลังที่ศาลรัฐธรรมนูญมีคำสั่งให้ยุบพรรคอนาคตใหม่ ผู้ได้รับเลือกตั้ง นายทศพร ทองศิริ ได้ย้ายเข้าสังกัดพรรคก้าวไกลในวันที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2563[2]

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร เขต 24
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
อนาคตใหม่

ทศพร ทองศิริ (4) 38,409 34.87
พลังประชารัฐ

ไกรเสริม โตทับเที่ยง (6) 29,154 26.47
ประชาธิปัตย์

สาทร ม่วงศิริ (12) 14,784 13.42
เสรีรวมไทย

มณีวรรณ เกตุบุญลือ (1) 7,187 6.52
ภูมิใจไทย

ไสว โชติกะสุภา (8) 6,748 6.13
เศรษฐกิจใหม่

วิชาญ เขาหา (28) 5,859 5.32
เพื่อชาติ


วิฬารี สว่างพลกรัง (9) 2,908 2.64
ประชาชาติ

ดุสิต ศาสนอนันต์ (3) 1,113 1.01
ชาติไทยพัฒนา

อมรศักดิ์ สินเหลือ (5) 914 0.83
รวมพลังประชาชาติไทย

วสุ วงษ์เจริญ (2) 590 0.54
ชาติพัฒนา

สุเมธี วรรณศิริกุล (10) 529 0.48
พลังท้องถิ่นไท


ชัยณรงค์ ธีรการุณวงศ์ (7) 443 0.40
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย


สุขเกษม แพรมณี (15) 405 0.37
พลังธรรมใหม่

สัญชัย อยู่ไพศาล (11) 146 0.13
ครูไทยเพื่อประชาชน

มัธทนา งามรินอำไพ (20) 144 0.13
พลังชาติไทย

สมชาย พูลพิทักษ์ (21) 137 0.12
ประชาชนปฏิรูป


วรมน เล็กใบ (14) 112 0.10
พลังไทสร้างชาติ

สุรชัย ศาสนภาพ (26) 108 0.10
ประชาไทย

ชยกร พลดิษฐ์ (24) 63 0.06
ประชาธิปไตยใหม่

ถนัด แสงวิเชียร (18) 60 0.05
ประชานิยม


มนมนัส ศิวรังสรรค์ (16) 58 0.05
กลาง

ศรุต คงตระกูล (17) 45 0.04
ถิ่นกาขาวชาววิไล

จินตนา ใจภักดี (32) 42 0.04
แผ่นดินธรรม

สุธี ทองสวัสดิ์ (19) 30 0.03
ประชาธรรมไทย

สุเทพ ท้วมกลัด (27) 30 0.03
ภาคีเครือข่ายไทย

จิรภิญญา ชิงดวง (29) 30 0.03
ประชาภิวัฒน์

ฐิติรัตน์ นิจประกิจ (22) 28 0.03
พลังศรัทธา

ภัคภร บุณยเกียรติ (30) 24 0.02
ไทรักธรรม

อดิศักดิ์ สาระสิทธิ์ (33) 21 0.02
ภราดรภาพ


อนิรุธ อธิวัฒนานนท์ (23) 20 0.02
พลังปวงชนไทย

สุเทพ สงยอด (31) 15 0.01
ไทยรักษาชาติ

นพสรัญ วรรณศิริกุล (13)
เพื่อนไทย

สุชาติ เจริญเลิศวิริยะกิจ (25)
ผลรวม 110,156 100.00
บัตรดี 110,156 93.83
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,563 2.18
บัตรเสีย 4,684 3.99
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 117,403 72.42
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 162,105 100
อนาคตใหม่

ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์

เขต 25

[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 25 ประกอบด้วยทุกแขวงในพื้นที่ของเขตบางขุนเทียน

ทั้งนี้ ภายหลังที่ศาลรัฐธรรมนูญมีคำสั่งให้ยุบพรรคอนาคตใหม่ ผู้ได้รับเลือกตั้ง นายณัฐชา บุญไชยอินสวัสดิ์ ได้ย้ายเข้าสังกัดพรรคก้าวไกลในวันที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2563[2]

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร เขต 25
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
อนาคตใหม่

ณัฐชา บุญไชยอินสวัสดิ์ (2) 38,340 39.35
ประชาธิปัตย์

สากล ม่วงศิริ (8)* 23,425 24.04 -27.86
พลังประชารัฐ

ธีทัชฐ์ เกียรติลดารมย์ (5) 16,782 17.22
เสรีรวมไทย

นิวัฒน์ ไชยมิ่ง (3) 5,358 5.50
เศรษฐกิจใหม่

นารัตน์ วงวาลย์ (20) 5,260 5.40
เพื่อชาติ


สุไพรพล ช่วยชู (11) 2,467 2.53
ภูมิใจไทย

สมศักดิ์ ลีลาสถาพรกูร (1) 2,376 2.44
พลังท้องถิ่นไท


สวัสดิ์ จำปาศรี (7) 535 0.55
รวมพลังประชาชาติไทย

คมกร เกียรติวิทยากุล (6) 455 0.47
ชาติไทยพัฒนา

ปิยะพัชร์ เนตรน้อยสกุล (4) 416 0.43
ไทยศรีวิไลย์


ไพรัช เศวกวงศ์ (12) 275 0.28
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย


รัตนพร โอภาสพิมลธรรม (14) 257 0.26
ชาติพัฒนา

ศรายุทธ สุขะวัลลิ (13) 251 0.26
ประชาชาติ

วริศรา เกษมศรี (16) 136 0.14
ประชาภิวัฒน์

ประเสริฐ ทองลือ (9) 118 0.12
ภราดรภาพ


ธิติกรณ์ ชาวบ้านเกาะ (15) 114 0.12
ประชาชนปฏิรูป


นพดล รามนัฏ (24) 114 0.12
ประชาธิปไตยใหม่

นิธิรุจน์ อินทร์สังข์ (25) 100 0.10
ครูไทยเพื่อประชาชน

กีรติ ลือชาพนธารา (22) 96 0.10
พลังชาติไทย

กิตตพัฒน์ จิรัฏฐวงศ์ (23) 94 0.10
พลังไทสร้างชาติ

สุวัฒน์ อยู่เย็น (26) 80 0.08
ไทรักธรรม

สิทธิเดช จรกรรณ (31) 61 0.06
พลังศรัทธา

มนัสนันท์ นพพิบูลย์ (21) 59 0.06
ภาคีเครือข่ายไทย

ไสว แก้วขาว (28) 58 0.06
พลังปวงชนไทย

ราตรี สงยอด (19) 46 0.05
กลาง

จันทร์จิรา เกษมศรีนิวัฒนา (18) 45 0.05
พลเมืองไทย

นภาภรณ์ ครรชิตจารุสิทธิ์ (29) 40 0.04
ประชานิยม


นิธิโชติ มานะธัญญา (17) 34 0.03
ประชาธรรมไทย

เอกธนัช รงค์บัญฑิต (27) 31 0.03
ประชาไทย

ลลิต วรรธนะดำเกิง (30) 17 0.02
ไทยรักษาชาติ

กมลพัฒน์ ปุงบางกะดี่ (10)
ผลรวม 97,440 100.00
บัตรดี 97,440 94.22
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,022 1.96
บัตรเสีย 3,946 3.82
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 103,408 73.29
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 141,096 100
อนาคตใหม่

ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์

เขต 26

[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 26 ประกอบด้วยเขตบางบอนและเขตหนองแขม (เฉพาะแขวงหนองแขม)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร เขต 26
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
เพื่อไทย

วัน อยู่บำรุง (13) 30,538 29.00
อนาคตใหม่

กันต์พงษ์ ประยูรศักดิ์ (9) 27,244 25.87
ประชาธิปัตย์

พันตำรวจเอก สามารถ ม่วงศิริ (8)* 19,202 18.24
พลังประชารัฐ

วัชระ กรรณิการ์ (14) 18,032 17.12
เศรษฐกิจใหม่

อรวรรณ จั่นบำรุง (27) 4,309 4.09
เสรีรวมไทย

ว่าที่ร้อยตรี ธนกร เจียโหงว (5) 2,622 2.49
ภูมิใจไทย

ศิลปชัย บุญราย (12) 602 0.57
รวมพลังประชาชาติไทย

วีรญา อังศุธรถาวริน (1) 508 0.48
ไทยศรีวิไลย์


อนุรักษ์ อมรเมตตาจิต (6) 289 0.27
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย


วรพล เตรียมเวชวุฒิไกร (17) 261 0.25
เพื่อชาติ


เศษฐวิชช์ ศิริโภคานุสรณ์ (4) 244 0.23
ภราดรภาพ


สมชาย พวงมาลัย (7) 182 0.17
ชาติพัฒนา

ชัยนันท์ ขันทะชา (10) 166 0.16
พลังท้องถิ่นไท


สมยศ ลักษณะสมบูรณ์ (2) 163 0.15
ชาติไทยพัฒนา

ก่อเกียรติ ขันทอง (15) 149 0.14
ประชาชนปฏิรูป


ศศิยา บุตรเนียร (11) 145 0.14
พลังไทยรักไทย

ชญาณ์นันท์ อ้วนพินิจ (25) 125 0.12
ประชานิยม


หนึ่ง ช่วยชู (3) 78 0.07
ประชากรไทย

ณัทกร ลักษณ์ชนน (28) 72 0.07
ประชาชาติ

ชวิกา ไตรศิวะกุล (18) 53 0.05
พลเมืองไทย

ทิชากร วิสาลสกล (21) 53 0.05
ประชาธรรมไทย

อารีลักษณ์ งามเจริญ (26) 45 0.04
ครูไทยเพื่อประชาชน

พัทธนันท์ สิริปรีดาพัฒน์ (24) 42 0.04
กลาง

ดนิตา วงค์รัตน์ (19) 37 0.04
พลังชาติไทย

บุญฤทธิ์ ขวัญชุม (23) 32 0.03
แผ่นดินธรรม

ชวลิต ชัยชาญ (22) 31 0.03
ประชาภิวัฒน์

สิครินทร์ ดามพ์วิจิตร (16) 30 0.03
ไทรักธรรม

กิตติชัย หนูชูชัย (29) 29 0.03
พลังปวงชนไทย

สุพรรณี ทองหนองบัว (20) 21 0.02
ผลรวม 105,302 100.00
บัตรดี 105,302 96.06
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,760 1.61
บัตรเสีย 2,552 2.33
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 109,614 75.51
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 145,156 100.00
เพื่อไทย ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์

เขต 27

[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 27 ประกอบด้วยเขตทวีวัฒนา เขตหนองแขม (เฉพาะแขวงหนองค้างพลู) และเขตตลิ่งชัน (เฉพาะแขวงฉิมพลีและแขวงตลิ่งชัน)

ทั้งนี้ ภายหลังที่ศาลรัฐธรรมนูญมีคำสั่งให้ยุบพรรคอนาคตใหม่ ผู้ได้รับเลือกตั้ง นายจิรวัฒน์ อรัณยกานนท์ ได้ย้ายเข้าสังกัดพรรคก้าวไกลในวันที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2563[2]

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร เขต 27
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
อนาคตใหม่ จิรวัฒน์ อรัณยกานนท์ (7) 29,545 24.52
เพื่อไทย พันตำรวจโท วันชัย ฟักเอี้ยง (3) 28,367 23.54
พลังประชารัฐ บุณณดา สุปิยพันธุ์ (14) 24,981 20.73
ประชาธิปัตย์ เอกนัฏ พร้อมพันธุ์ (8)* 23,803 19.75
เศรษฐกิจใหม่ ดนัย อินทรพยุง (26) 5,213 4.33
เสรีรวมไทย เกศศิริ เรืองกาญจนเศรษฐ์ (11) 3,834 3.18
ภูมิใจไทย ปกาสิต ตราชื่นต้อง (4) 886 0.74
รวมพลังประชาชาติไทย อุมาทิณี ลกกะบูน (12) 542 0.45
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย ปรีชา ลูกบัว (17) 375 0.31
ชาติไทยพัฒนา ธนธัส สาสิงห์ (2) 358 0.30
ไทยศรีวิไลย์ กฤดิทัช แสงธนโยธิน (6) 335 0.28
ประชาชนปฏิรูป อำนาจ การสมจิตร์ (9) 323 0.27
ชาติพัฒนา ยุทธนา โตอาจ (1) 319 0.26
พลังท้องถิ่นไท บุญรุ่ง เต๋งจงดี (10) 250 0.21
พลังไทยรักไทย ดาริน ลักษณ์ชนน (23) 191 0.16
ประชาภิวัฒน์ มิตรศิลป์ ธิกะ (13) 182 0.15
เพื่อชาติ บุญลือ นุ้ยเมือง (16) 168 0.14
ประชาธิปไตยใหม่ จินตนา เอิบอิ่ม (21) 145 0.12
ประชาชาติ วิษุวัต เจริญขวัญเมือง (5) 129 0.11
ภราดรภาพ สุวลักษณ์ พวงมาลัย (15) 127 0.11
พลังชาติไทย จ่าสิบเอก อาทร มีถาวร (25) 104 0.09
กลาง ว่าที่ร้อยตรี สุกิต น้อมศิริ (24) 67 0.06
ภาคีเครือข่ายไทย ธนาดุล มะลิใหม่ (28) 61 0.05
แผ่นดินธรรม ประกิจ ศิริมา (22) 53 0.04
พลังไทสร้างชาติ ชัชวาล สุภัคชูกุล (30) 39 0.03
มหาชน วระสิทธิ์ ปิ่นกุลบุตร (27) 38 0.03
ประชานิยม ฐานิญา ดวงมืด (19) 32 0.03
พลังปวงชนไทย ภิญปภัส นัยเนตร์ (18) 23 0.02
ประชาธรรมไทย ขวัญดาว ท้วมกลัด (29) 23 0.02
ครูไทยเพื่อประชาชน สุรเดช อินทร์แก้ว (20)
ผลรวม 120,513 100.00
บัตรดี 120,513 95.68
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,447 1.94
บัตรเสีย 2,994 2.38
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 125,954 75.84
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 166,075 100
อนาคตใหม่ ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์

เขต 28

[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 28 ประกอบด้วยทุกแขวงในพื้นที่ของเขตบางแค

ทั้งนี้ ภายหลังที่ศาลรัฐธรรมนูญมีคำสั่งให้ยุบพรรคอนาคตใหม่ ผู้ได้รับเลือกตั้ง นายณัฐพงษ์ เรืองปัญญาวุฒิ ได้ย้ายเข้าสังกัดพรรคก้าวไกลในวันที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2563[2]

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร เขต 28
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
อนาคตใหม่ ณัฐพงษ์ เรืองปัญญาวุฒิ (9) 29,590 27.11
พลังประชารัฐ กฤชนนท์ อัยยปัญญา (4) 29,413 26.95
เพื่อไทย วัฒนา เมืองสุข (3)** 23,510 21.54
ประชาธิปัตย์ อรอนงค์ คล้ายนก (10)* 17,279 15.83
เสรีรวมไทย พลตำรวจโท จุตติ ธรรมมโนวานิช (12) 3,755 3.44
ภูมิใจไทย จิตรภณ ทิพย์โภคาสกุล (1) 2,391 2.19
ชาติพัฒนา เยาวภา บุรพลชัย (8) 812 0.74
รวมพลังประชาชาติไทย ปรเมศวร์ นาคเทวัญ (5) 429 0.39
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย ลีลาวดี น้ำหยด (16) 326 0.30
ประชาชนปฏิรูป ประจักษ์ มนต์ประเสริฐ (11) 273 0.25
ชาติไทยพัฒนา สมเจตต์ มากสมบูรณ์ (2) 267 0.24
พลังท้องถิ่นไท ชวัลรัตน์ เข็มหนู (14) 185 0.17
พลังไทยรักไทย ชาญชีพ หิรัญภัทรเวช (21) 159 0.15
ครูไทยเพื่อประชาชน ภัทรานิษฐ์ บุณยวิบูลย์ (24) 116 0.11
เพื่อชาติ ศิริพงศ์ มหศิริไพศาล (7) 104 0.10
ภราดรภาพ อมรรัตน์ อัครอมรพงศ์ (15) 102 0.09
พลังชาติไทย อนุชา อินพุ่ม (19) 96 0.09
ประชาภิวัฒน์ ณัฐพล ศิริสว่าง (13) 90 0.08
ประชานิยม กรกช เติมรุ่งเรืองเลิศ (17) 68 0.06
พลังรัก จิรายุ ภูพาน (20) 48 0.04
พลังไทสร้างชาติ ภูเมธ กมลศุภกิตติ์ (27) 43 0.04
แผ่นดินธรรม ชัยพล องอาจผจญ (22) 38 0.03
ภาคีเครือข่ายไทย นันทัชพร บุญทรง (28) 35 0.03
ประชาชาติ ปรีชา วัชระนัย (6)
เศรษฐกิจใหม่ ชัยกฤตย์ เดชณรงค์ (18)
ไทยรักษาชาติ ศุรุท เกษมณีภูรเดช (23)
มหาชน ณพลการย์ ณิชยรวีพัชร์ (25)
ประชาธรรมไทย ดวงประเสริฐ นาคจีนวงศ์ (26)
ผลรวม 109,129 100.00
บัตรดี 109,129 93.11
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,126 1.81
บัตรเสีย 5,950 5.08
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 117,205 74.56
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 157,199 100
อนาคตใหม่ ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์

เขต 29

[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 29 ประกอบด้วยเขตภาษีเจริญและเขตตลิ่งชัน (ยกเว้นแขวงฉิมพลี และแขวงตลิ่งชัน)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร เขต 29
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
เพื่อไทย สุภาภรณ์ คงวุฒิปัญญา (11) 28,765 27.85
พลังประชารัฐ ณพงศ์ นพเกตุ (15) 24,622 23.84
อนาคตใหม่ ทวีชัย วงศ์ไพโรจน์กุล (6) 23,477 22.73
ประชาธิปัตย์ วิลาศ จันทร์พิทักษ์ (3)* 13,612 13.18
เศรษฐกิจใหม่ อภิกษณาอร ลิ่วเฉลิมวงศ์ (19) 5,077 4.92
เสรีรวมไทย จิรพัฒน์ สัจยากร (1) 3,407 3.30
ภูมิใจไทย ชูชาติ ยิ้มงาม (8) 772 0.75
รวมพลังประชาชาติไทย กชพงศ์ โรจน์ไพศาลกิจ (14) 537 0.52
เพื่อชาติ สราวุธ ยุติโยธิน (2) 293 0.28
ชาติพัฒนา ปัณย์วีร์ อิสริยาพร (5) 287 0.28
ชาติไทยพัฒนา ปุณฐิภาภัคร์ สุวรรณราช (13) 285 0.28
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย ฐิตินันท์ ศิริวสุธา (17) 262 0.25
พลังท้องถิ่นไท ชญาพัฒน์ โปร่งปรีชา (9) 257 0.25
ประชาชนปฏิรูป ภัทรพล หมดมลทิน (7) 227 0.22
ประชาชาติ ปริญญา กิจยิ่งยง (4) 205 0.20
พลังธรรมใหม่ นาวาเอก ประพันธ์ โชติอาภรณ์ ร.น. (10) 175 0.17
พลังไทยรักไทย สายรุ้ง กาวิลา (24) 166 0.16
ประชาภิวัฒน์ วันชัย เวชพานิช (12) 126 0.12
พลังประชาธิปไตย บัณฑิต ธรรมปรีชา (22) 109 0.11
พลังชาติไทย ธนกฤษ นพรัตน์ (23) 98 0.09
ไทรักธรรม ถวิล รัตนพงศ์ (31) 93 0.09
กลาง อภัสนันท์ ชูเชิด (18) 91 0.09
ครูไทยเพื่อประชาชน ศิริพา นันทกิจ (25) 59 0.06
ประชานิยม สัมฤทธิ์ เสลาหอม (21) 54 0.05
ภราดรภาพ นิธิศ อังศุกุลธร (16) 53 0.05
พลังไทยรักชาติ ณัฐธิดา นิโครธางกูร (30) 52 0.05
พลังสังคม บัณฑิต สนิทประชากร (26) 36 0.03
ประชาธิปไตยใหม่ พิทักษ์ รักษาวงศ์ (20) 32 0.03
พลังปวงชนไทย ธนชาติ รายวงศ์ (29) 24 0.02
ประชาธรรมไทย กิตติชัย ชูเชิด (27) 18 0.02
ภาคีเครือข่ายไทย สมนึก ปัทมาลัย (28) 16 0.02
ผลรวม 103,287 100.00
บัตรดี 103,287 95.28
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,200 2.03
บัตรเสีย 2,911 2.69
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 108,398 73.73
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 147,012 100
เพื่อไทย ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์

เขต 30

[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 30 ประกอบด้วยเขตบางกอกน้อยและเขตบางพลัด

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร เขต 30
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
พลังประชารัฐ จักรพันธ์ พรนิมิตร (8) 31,394 27.99
เพื่อไทย พงศ์พันธ์ ยอดเมืองเจริญ (6) 25,745 22.96
อนาคตใหม่ ณัฐชนน จิตต์สง่า (4) 23,724 21.15
ประชาธิปัตย์ รัชดา ธนาดิเรก (10)* 17,535 15.64
เศรษฐกิจใหม่ ศิริวัฒน์ ไชยธวัช (20) 5,344 4.77
เสรีรวมไทย ยิ่งยงค์ จิตเพียรธรรม (7) 3,991 3.56
ภูมิใจไทย เพิ่มพร ตุทานนท์ (5) 766 0.68
รวมพลังประชาชาติไทย สมพงษ์ สวัสดิสุข (1) 695 0.62
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย วรินดา วราพันธ์ (16) 437 0.39
ชาติไทยพัฒนา แพรวพรรณ สวนพราย (3) 360 0.32
พลังท้องถิ่นไท ภัทร์ฐิตา ทุมเกิด (9) 351 0.31
ประชาชนปฏิรูป มนูญ นกยูงทอง (11) 257 0.23
ไทยศรีวิไลย์ ภวัต อิ่มใจจิตร (30) 211 0.19
เพื่อชาติ รัชนก ศรีทองแท้ (12) 186 0.17
ชาติพัฒนา คุ้ง จารึกเสถียร (2) 170 0.15
เพื่อแผ่นดิน อมรเทพ หวังแก้ว (14) 134 0.12
ประชาชาติ ว่าที่ร้อยตรี ณัฐฐากูร ศรีธนกฤตชโยดม (13) 127 0.11
ประชาภิวัฒน์ อมเรศ ฤทธิรงค์ (26) 75 0.07
พลังไทยรักไทย สมัฏฐวัศน์ อารยศาสตร์ (23) 64 0.06
พลังไทยรักชาติ ทศพร สายสุด (19) 60 0.05
พลังชาติไทย สิริวรรณ โชติพันธุ์ (18) 59 0.05
ภราดรภาพ พิเชษฐ์ ไทยนิยม (17) 58 0.05
กลาง ศิวะ ไวทย์รุ่งโรจน์ (24) 58 0.05
ประชาธิปไตยใหม่ พัฒชา จิ๋วแหยม (31) 58 0.05
แผ่นดินธรรม พัทธวรรณ รุจิรชัย (21) 56 0.05
ครูไทยเพื่อประชาชน สุนทร โนนศิริ (22) 54 0.05
พลังสังคม นาวิน ชลายนนาวิน (25) 52 0.05
ประชาธรรมไทย กมลชนก ศรีกนก (28) 52 0.05
ประชานิยม ธนบดี อินทวีโร (15) 37 0.03
พลังไทสร้างชาติ สุชาติ เหมหงษา (27) 22 0.02
ภาคีเครือข่ายไทย ชวิศกฤษ บุญรัตน์สุวรรณ (29) 19 0.02
ผลรวม 112,151
บัตรดี 112,151 95.46
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,236 1.90
บัตรเสีย 3,101 2.64
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 117,488 70.57
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 166,478 100.00
พลังประชารัฐ ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์

อ้างอิง

[แก้]
  1. พลวุฒิ สงสกุล (19 Sep 2018). "แบ่งเขตเลือกตั้งใหม่ เตรียมหย่อนบัตรปี 62 ส.ส. ลด 23 จังหวัด อีสานหด 10 ที่นั่ง". THE STANDARD. สืบค้นเมื่อ 17 Feb 2019.
  2. 2.0 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 2.6 ""พิธา" นำทีมเพื่อนอนาคตใหม่ ย้ายเข้า #พรรคก้าวไกล ทำแฮชแท็กพุ่งอันดับ 1". www.thairath.co.th. 2020-03-08.
  3. 3.0 3.1 "9 อดีต ส.ส.อนาคตใหม่ ย้ายซบ "ภูมิใจไทย" อย่างเป็นทางการ". Thai PBS. 2020-02-25.

ดูเพิ่ม

[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]