ข้ามไปเนื้อหา

อักษรไทอาหม

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก อักษรอาหม)
อักษรไทอาหม
𑜒𑜑𑜪𑜨
'อาหม' ในอักษรไทอาหม
ชนิด
ช่วงยุค
คริสต์ศตวรรษที่ 13–19
ทิศทางซ้ายไปขวา Edit this on Wikidata
ภาษาพูดภาษาอาหม, ภาษาอัสสัม (แทบไม่ใช้)[1]
อักษรที่เกี่ยวข้อง
ระบบแม่
ระบบพี่น้อง
ไทใต้คง, คำตี้
ISO 15924
ISO 15924Ahom (338), ​Ahom, Tai Ahom
ยูนิโคด
ยูนิโคดแฝง
Ahom
ช่วงยูนิโคด
U+11700–U+1173F

อักษรไทอาหม หรือ อักษรอาหม เป็นอักษรสระประกอบที่ใช้เขียนภาษาอาหม ภาษากลุ่มไทที่ตายแล้วที่กำลังอยู่ในช่วงฟื้นฟูผู้พูดในชาวอาหมจนถึงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 18 ซึ่งสถาปนาอาณาจักรอาหมและปกครองส่วนตะวันออกของหุบเขาพรหมบุตรในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 13 ถึง 18[4] ภาษาอาหมเก่าในปัจจุบันยังคงเหลือรอดในเอกสารตัวเขียนหลายแห่งที่เขียนด้วยอักษรนี้ ซึ่งอยู่ในความครอบครองของสถาบันและเอกชน

ประวัติ

[แก้]

ลักษณะ

[แก้]

แต่ละอักษรมีสระ /a/ ข้างในเหมือนกับอักษรสระประกอบส่วนใหญ่[5] สระอื่น ๆ ระบุด้วยการใช้เครื่องหมายเสริมสัทอักษรที่สามารถปรากฏได้ทั้งด้านบน ล่าง ซ้าย หรือขวาพยัญชนะ แต่อักษรนี้ไม่ได้ระบุเสียงวรรณยุกต์ที่ใช้ในภาษานี้[6] อักษรไทอาหมมีความซับซ้อนมากขึ้นเนื่องจากมีความไม่สอดคล้องในการใช้งาน เช่น พยัญชนะอาจเขียนได้ครั้งละหนึ่งคำ แต่ออกเสียงสองครั้ง คำทั่วไปอาจเขียนสั้นลง และคำต่อเนื่องกันที่มีพยัญชนะต้นเดียวกันอาจย่อได้[6]

พยัญชนะ

[แก้]
พยัญชนะไทอาหม
𑜀
ka
IPA: /ka/
𑜁
kha
IPA: /kʰa/
𑜕𑜖
ga
IPA: /ɡa/
𑜗
gha
IPA: /ɡʱa/
𑜂
nga
IPA: /ŋa/
𑝀
ca
IPA: /ca/
𑜋
cha
IPA: /cʰa/
𑜊
ja
IPA: /ɟa/
𑜙
jha
IPA: /ɟʱa/
𑜐
nya
IPA: /ɲa/
𑝁
ṭa
IPA: /ʈa/
𑝂
ṭha
IPA: /ʈʰa/
𑝃
ḍa
IPA: /ɖa/
𑝄
ḍha
IPA: /ɖʱa/
𑝅
ṇa
IPA: /ɳa/
𑜄𑜅
ta
IPA: /ta/
𑜌
tha
IPA: /tʰa/
𑜓
da
IPA: /da/
𑜔
dha
IPA: /dʱa/
𑜃
na
IPA: /na/
𑜆
pa
IPA: /pa/
𑜇
pha
IPA: /pʰa/
𑜈𑜚
ba
IPA: /ba/
𑜘
bha
IPA: /bʱa/
𑜉
ma
IPA: /ma/
𑜍
ra
IPA: /ra/
𑜎
la
IPA: /la/
𑝆
ḷa
IPA: /ɭa/
𑜏
sa
IPA: /sa/
𑜑
ha
IPA: /ha/
𑜒
a
  1. รูปอักขระอีกแบบ
  2. แบบที่สองของอักษรนี้คือ ta และ ja ประสม โดยที่อักษร ta ทำให้สั้นลง
  3. รูปอักขระอีกแบบของ Ba แบบที่สองใช้แทนเสียง va นรูปสะกด Sajjhaya
  4. อักษรนี้ไม่ใช่สระเดี่ยว แต่ทำหน้าที่เป็นพยัญชนะว่างที่สามารถประสมกับเครื่องหมายเสริมสัทอักษรสระเพื่อสร้างสระต้น

เครื่องหมายเสริมสัทอักษรพยัญชนะกลางด้านล่างใช้ในรูปพยัญชนะควบกล้ำกับ /l/ และ /r/ เช่น /kl/ และ /kr/

พยัญชนะกลาง
◌𑜝
la กลาง
IPA: /l/
◌𑜞
ra กลาง
IPA: /r/
◌𑜟
IPA: /r/
ra เชื่อมกลาง

สระ

[แก้]

เครื่องหมายเสริมสัทอักษรสระด้านล่างเพิ่มไว้ในพยัญชนะต้น:

เครื่องหมายเสริมสัทอักษรสระ
𑜠
a
IPA: /a/
𑜡
aa
IPA: /a:/
◌𑜢
i
IPA: /i/
◌𑜣
ii
IPA: /i:/
◌𑜤
u
IPA: /u/
◌𑜥
uu
IPA: /u:/
𑜦
e
IPA: /e/
◌𑜩
ai
IPA: /ai/
◌𑜨
o
IPA: /o/
◌𑜧
aw
IPA: /aw/
◌𑜪
am
IPA: /am/

ถ้าจะเขียนพยัญชนะโดยไม่มีสระ จะต้องใช้สัญลักษณ์วิรามะ ◌𑜫[7]

เครื่องหมายวรรคตอน

[แก้]

ตัวอักษรที่ใช้เป็นเครื่องหมายวรรคตอน มีดังนี้:[7]

เครื่องหมายวรรคตอน
𑜼
แยก
ส่วนเล็ก
𑜽
แยก
ส่วน
𑜾
ระบุ
ย่อหน้า
𑜿
เครื่องหมาย
อัศเจรีย์

ตัวเลข

[แก้]

อักษรไทอาหมมีตัวเลขเป็นของตนเอง:[7]

ตัวเลขไทอาหม
0
𑜰
1
𑜱
2
𑜲
3
𑜳
4
𑜴
5
𑜵
6
𑜶
7
𑜷
8
𑜸
9
𑜹
10
𑜺
20
𑜻

อ้างอิง

[แก้]
  1. "SEAlang Library Ahom Lexicography". sealang.net.
  2. Diringer, David (1948). Alphabet a key to the history of mankind. p. 411.
  3. Daniels 2012, p. 170-171.
  4. Diller, A. (1993). Tai Languages. In International Encyclopedia of Linguistics (Vol. 4, pp. 128-131). Oxford, UK: Oxford University Press.
  5. Hosken, Martin; Morey, Stephen (2012-10-23). "N4321R: Revised Proposal to add the Ahom Script in the SMP of the UCS" (PDF). ISO/IEC JTC1/SC2/WG2.
  6. 6.0 6.1 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Stars
  7. 7.0 7.1 7.2 Morey, Stephen; Hosken, Martin (2012). "Revised Proposal to add the Ahom Script in the SMP of the UCS" (PDF). {{cite journal}}: Cite journal ต้องการ |journal= (help)

ข้อมูล

[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]