วิกิพีเดีย:โครงการวิกิรถไฟฟ้า
นี่คือโครงการวิกิ พื้นที่สำหรับความร่วมมือที่มุ่งเน้นในหมู่ชาววิกิพีเดีย ยินดีต้อนรับผู้เข้าร่วมใหม่ โปรดอย่าลังเลที่จะเข้าร่วม! |
โครงการวิกิรถไฟฟ้า |
ยินดีต้อนรับสู้หน้าโครงการของเรา | |
สถานีย่อย | สถานีย่อยรถไฟฟ้า |
---|---|
โครงการ พี่น้อง | รถไฟ |
แม่แบบป้ายโครงการ | {{บทความรถไฟฟ้า}} |
กล่องผู้ใช้ | {{User Wikimetro}} |
มีเป้าหมายไหม? | พัฒนาคุณภาพบทความ และตรวจสอบความถูกต้อง |
หน้าที่ได้รับความนิยม | รถไฟฟ้าบีทีเอส |
โครงการวิกิรถไฟฟ้า เป็นโครงการที่มุ่งพัฒนาบทความเกี่ยวกับรถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล และรถไฟฟ้าในเมืองอื่น ๆ โดยจะมุ่งเน้นเรื่องระบบรถไฟฟ้าเป็นหลัก
ระบบขนส่งมวลชนเร็ว (อังกฤษ: Mass Rapid Transit) หรือที่มักเรียกว่ารถไฟฟ้า รถไฟฟ้าใต้ดิน เมโทร มักจะมีในเมืองใหญ่ที่สำคัญทั่วโลก รถไฟฟ้าใต้ดินที่เก่าแก่ที่สุดในโลกอยู่ที่กรุงลอนดอน เปิดใช้เมื่อ พ.ศ. 2406 ปัจจุบันมีเมืองทั้งหมด 162 เมืองที่มีรถไฟฟ้าใต้ดิน
สิ่งที่คุณทำได้
[แก้]ปรับปรุงข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน
[แก้]มีรถไฟฟ้าหลายสายที่กำลังก่อสร้างหรืออยู่ในแผนงาน โปรดช่วยกันปรับปรุงเนื้อหาให้เป็นปัจจุบันหากเริ่มมีการก่อสร้างหรือเปิดให้บริการ
- สายรถไฟฟ้าที่กำลังก่อสร้าง (ในประเทศไทย – แม่แบบ:BTS Lines แม่แบบ:BTS Lines แม่แบบ:BTS Lines แม่แบบ:BTS Lines )
- ปรับปรุงข้อมูลหรือเพิ่มสายรถไฟฟ้าที่เปิดให้บริการใหม่ในบทความ "รายชื่อระบบขนส่งมวลชนเร็ว"
ประเมินคุณภาพบทความ
[แก้]ใส่แม่แบบ {{บทความรถไฟฟ้า}} ในหน้าพูดคุยของบทความที่เกี่ยวข้องกับรถไฟในส่วนบนสุดของหน้าพูดคุยของแต่ละบทความ เพื่อจัดระดับบทความรถไฟฟ้าตามระดับการเขียนบทความ
|
จัดระดับบทความรถไฟฟ้าตามเกณฑ์การจัดระดับบทความ ในหน้าพูดคุย โดยติดป้ายดังนี้
- {{บทความรถไฟฟ้า|ระดับ = คัดสรร}} สำหรับบทความที่ผ่านการคัดเลือกในโครงการบทความคัดสรร
- {{บทความรถไฟฟ้า|ระดับ = คุณภาพ}} สำหรับบทความที่ผ่านการคัดเลือกในโครงการบทความคุณภาพ
- {{บทความรถไฟฟ้า|ระดับ = ดี}} สำหรับบทความระดับดี ซึ่งมีเนื้อหาครอบคลุมส่วนสำคัญครบถ้วนในทุกด้าน มีรูปแบบที่ดูเหมาะสม แต่รูปแบบและการใช้ภาษา อาจยังต้องการปรับปรุง
- {{บทความรถไฟฟ้า|ระดับ = พอใช้}} สำหรับบทความระดับพอใช้ ซึ่งมีเนื้อหาพอใช้ แต่ขาดเนื้อหาสำคัญในบทความ หรือมีเนื้อหาหรือสื่อที่ไม่เข้ากับบทความ ควรจะมีการปัดกวาดบทความโดยรวม
- {{บทความรถไฟฟ้า|ระดับ = โครง}} สำหรับบทความระดับโครง ซึ่งมีเนื้อหาที่กำลังเขียนหรือพัฒนา และยังขาดแหล่งอ้างอิงที่น่าเชื่อถือ
- {{บทความรถไฟฟ้า|ระดับ = รายชื่อ}} สำหรับบทความระดับรายชื่อ ซึ่งมีเนื้อหาที่มีลักษณะเป็นรายชื่อ
- {{บทความรถไฟฟ้า}} สำหรับบทความที่ไม่แน่ใจว่าอยู่ในระดับใด ทั้งนี้อาจมีรูปแบบที่ไม่เป็นสารานุกรม ต้องการตรวจแก้การใช้ภาษา หรือมีเนื้อหาน้อยมาก ซึ่งจะมีป้ายติดไว้ด้านบนแต่ละบทความ
- {{บทความรถไฟฟ้า|ระดับ = หมวดหมู่}} สำหรับหมวดหมู่ที่เกี่ยวข้องกับโครงการ