อักษรซีริลลิก
หน้าตา
(เปลี่ยนทางจาก ซีริลลิก)
อักษรซีริลลิก | ||||||
---|---|---|---|---|---|---|
А | Б | В | Г | Ґ | Ѓ | Д |
Ђ | Е | Ѐ | Ё | Є | Ж | З |
Ѕ | И | Ѝ | І | Ї | Й | Ј |
К | Л | Љ | М | Н | Њ | О |
П | Р | С | Т | Ћ | Ќ | У |
Ў | Ф | Х | Ц | Ч | Џ | Ш |
Щ | Ъ | Ы | Ь | Э | Ю | Я |
ไม่ใช่กลุ่มภาษาสลาฟ | ||||||
Ӑ | Ӓ | Ә | Ӛ | Ӕ | Ғ | Ҕ |
Ӻ | Ӷ | Ԁ | Ԃ | Ӗ | Ӂ | Җ |
Ӝ | Ԅ | Ҙ | Ӟ | Ԑ | Ӡ | Ԇ |
Ӣ | Ҋ | Ӥ | Қ | Ӄ | Ҡ | Ҟ |
Ҝ | Ԟ | Ԛ | Ӆ | Ԓ | Ԡ | Ԉ |
Ԕ | Ӎ | Ӊ | Ң | Ӈ | Ҥ | Ԣ |
Ԋ | Ӧ | Ө | Ӫ | Ҩ | Ҧ | Ҏ |
Ԗ | Ҫ | Ԍ | Ҭ | Ԏ | Ӯ | Ӱ |
Ӳ | Ү | Ұ | Ҳ | Ӽ | Ӿ | Һ |
Ҵ | Ҷ | Ӵ | Ӌ | Ҹ | Ҽ | Ҿ |
Ӹ | Ҍ | Ӭ | Ԙ | Ԝ | Ӏ | |
อักษรซีริลลิกโบราณ | ||||||
Ҁ | Ѻ | Ѹ | Ѡ | Ѿ | Ѣ | Ꙓ |
Ꙗ | Ѥ | Ѧ | Ѫ | Ѩ | Ѭ | Ѯ |
Ѱ | Ѳ | Ѵ | Ѷ | Ꙟ |
อักษรซีริลลิก หรือ อักษรซิริลลิก[1] (อังกฤษ: Cyrillic script) เป็นตัวอักษรที่ใช้เป็นตัวเขียนสำหรับภาษาในกลุ่มภาษาสลาวิกนอกจากนี้ยังใช้เป็นตัวเขียนสำหรับภาษาในอีกหลายประเทศ แต่ไม่มีอักษรซีริลลิกทุกตัวกับภาษาใด ขึ้นอยู่กับการเขียนในภาษานั้น
ในกลุ่มประเทศที่ใช้อักษรซีริลลิกด้วยกันเอง จะไม่เรียก ซีริล แต่จะออกเสียงว่า คีริล แทน เช่น ในภาษารัสเซียเรียกอักษรซีริลลิกว่า Кириллица คีริลลิซา
ประวัติ
[แก้]พัฒนามาจากอักษรกลาโกลิติกโดยนักบุญซีริลและเมโธเดียส (ในภาษารัสเซียออกเสียง ซีริล ว่า คีริล จึงเป็นที่มาของการอ่านชื่ออักษรไม่เหมือนกับในภาษาอังกฤษ) นำมาใช้แทนที่อักษรกลาโกลิติกเกือบจะสมบูรณ์เมื่อราว พ.ศ. 1500
ใช้เขียน
[แก้]- กลุ่มภาษาสลาวิก ได้แก่
- ภาษาเบลารุส หรือ ภาษาไบโลรัสเซีย
- ภาษาบัลแกเรีย
- ภาษาสลาโวนิกคริสตจักรโบราณ เมื่อราว พ.ศ. 1400
- ภาษามาซิโดเนีย
- ภาษารัสเซีย
- ภาษาเซอร์เบีย ตั้งแต่ พ.ศ. 2400
- ภาษายูเครน
- ภาษาบอสเนีย/ภาษายูโกสลาฟ
- ภาษาที่ไม่ใช่กลุ่มภาษาสลาวิก การแพร่กระจายของอักษรซีริลลิกเป็นผลมาจากการเผยแพร่ศาสนาคริสต์นิกายกรีกออร์ธอดอกซ์ รวมทั้งอิทธิพลของสหภาพโซเวียตที่ให้ประชาชนในบังคับใช้อักษรซีริลลิกแทนอักษรอาหรับและอักษรละติน ภาษาในกลุ่มนี้ได้แก่
- ภาษาอับฮาเซีย
- ภาษาอาเซอร์ไบจาน ใช้ระหว่าง พ.ศ. 2482 – 2534
- ภาษาคูวาซ เมื่อราว พ.ศ. 2481
- ภาษาคาซัค
- ภาษาคีร์กิซ
- ภาษาอุซเบก ในช่วง พ.ศ. 2483 – 2535
- ภาษามอลโดวา ในช่วง พ.ศ. 2489 – 2532
- ภาษามองโกเลีย
- ภาษาเบอร์บัต
- ภาษานาไน
- ภาษาโอโรค
- ภาษาโอรช
- ภาษาอิเวนกิ (เฉพาะชาวอิเวนกิในรัสเซีย)
- ภาษาคัลมึค (แต่เดิมใช้อักษรของตนเอง แต่เปลี่ยนมาใช้อักษรซิริลลิคเมื่อ พ.ศ. 2467)
ยูนิโคด
[แก้]อ้างอิง
[แก้]- ↑ Microsoft© Office Word 2003 thai
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อที่เกี่ยวข้องกับ อักษรซีริลลิก
- อักษรซีริลลิก (อังกฤษ)