ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดลำปางในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2519

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดลำปางในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2519

← พ.ศ. 2518 4 เมษายน พ.ศ. 2519 พ.ศ. 2522 →

4 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน339,352
ผู้ใช้สิทธิ55.94%
  First party Second party Third party
 
ผู้นำ หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช เสรี สุชาตะประคัลภ์ ไพฑูรย์ เครือแก้ว ณ ลำพูน
พรรค กิจสังคม แรงงาน (ประเทศไทย) แนวร่วมประชาธิปไตย
ที่นั่งก่อนหน้า 2 1 0
ที่นั่งที่ชนะ 2 1 1
ที่นั่งเปลี่ยน Steady0 Steady0 เพิ่มขึ้น1

  Fourth party
 
ผู้นำ ทวิช กลิ่นประทุม
พรรค ธรรมสังคม
ที่นั่งก่อนหน้า 1
ที่นั่งที่ชนะ 0
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง1

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช
กิจสังคม

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช
ประชาธิปัตย์

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลำปาง พ.ศ. 2519 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2519 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2519 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 2 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 4 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อ พ.ศ. 2518 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 2 คน[1]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

[แก้]

เขต 1เขต 2

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองลำปาง, อำเภอแจ้ห่ม, อำเภอวังเหนือ และอำเภองาว

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดลำปาง
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
แนวร่วมประชาธิปไตย ไพฑูรย์ เครือแก้ว ณ ลำพูน (11)✔ 33,136
แรงงาน (ประเทศไทย) สอาด ปิยวรรณ (1)* 29,958
พลังใหม่ บุญหลง ถาคำฟู (2) 23,988
กิจสังคม วิชัย มะโนกุลอนันต์ (5) 22,511
ประชาธิปัตย์ เล็ก พิชญกุล (9) 20,527
กิจสังคม เสริม จินาสวัสดิ์ (4)✔ 15,544
ประชาธิปัตย์ นิกร ประทุมมาลย์ (10) 7,864
เกษตรสังคม พันจ่าเอก ทักษิณ แจ่มผล (12) 4,722
พลังใหม่ เกรียงศักดิ์ ชูสุวรรณ (3) 4,567
สังคมนิยมแห่งประเทศไทย สมบูรณ์ อาวรณ์ (17) 3,249
นิยมไทย อุดมศักดิ์ คำมั่น (16) 2,380
ธรรมาธิปไตย ประยูร ภมรศิริ (7) 1,829
สังคมนิยมแห่งประเทศไทย ชัยวัฒน์ สุรวิชัย (18) 1,499
ธรรมาธิปไตย ผัน วิสูตร (8) 1,466
สังคมชาตินิยม เจริญ บุณยโกศล (14) 1,445
พลังประชาชน (พ.ศ. 2517) ประภาส ยาวิชัย (6) 1,436
ไท (พ.ศ. 2517) ณรงค์ ปณิธานะรักษ์ (13) 715
ชาติสยาม วินัย อุ่นใจ (15) 523
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
แนวร่วมประชาธิปไตย ได้ที่นั่งจาก กิจสังคม
แรงงาน (ประเทศไทย) รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 2

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอแม่ทะ, อำเภอห้างฉัตร, อำเภอเกาะคา, อำเภอสบปราบ, อำเภอเถิน, อำเภอแม่พริก และอำเภอเสริมงาม

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดลำปาง
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
กิจสังคม บุญเท่ง ทองสวัสดิ์ (3)* 51,382
กิจสังคม บุญเรือง ชุ่มอินทรจักร (4)✔ 38,019
ธรรมสังคม พินิจ จันทรสุรินทร์ (6)* 21,763
ประชาธิปัตย์ ประสงค์ สระปัญญา (1) 12,368
แนวร่วมประชาธิปไตย สวัสดิ์ รัตนคำฟู (9) 9,430
ประชาธิปัตย์ ประกอบ ผดุงพงษ์ (8) 6,284
พลังประชาชน (พ.ศ. 2517) ร้อยตรี เจริญ สุบิน (2) 5,029
พลังใหม่ สุรศักดิ์ ภักดี (5) 2,562
นิยมไทย นคร วารณา (13) 2,482
พลังประชาชน (พ.ศ. 2517) วิชัย ปราบปัจจามิตร (7) 1,250
ชาติไทย วรพล วิชัยเชษฐราษฎร์ (11) 1,250
ชาติไทย เฉลิม อุ่นเรือน (12) 1,074
ชาติสยาม อุดม เอสุจินต์ (10) 561
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
กิจสังคม รักษาที่นั่ง
กิจสังคม ได้ที่นั่งจาก ธรรมสังคม

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. รายงานผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ๔ เมษายน ๒๕๑๙ (วิจัย ๑). กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2519