ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดพิษณุโลกในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดพิษณุโลกในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535

← พ.ศ. 2531 22 มีนาคม พ.ศ. 2535 กันยายน พ.ศ. 2535 →

5 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน490,896
ผู้ใช้สิทธิ56.08%
  First party Second party Third party
 
Somboon rahong.jpg
Samak Sundaravej.JPG
Chavalit Yongchaiyudh.jpg
ผู้นำ สมบุญ ระหงษ์ สมัคร สุนทรเวช ชวลิต ยงใจยุทธ
พรรค ชาติไทย ประชากรไทย ความหวังใหม่
ที่นั่งก่อนหน้า 1 3 พรรคใหม่
ที่นั่งที่ชนะ 3 1 1
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น2 ลดลง2 เพิ่มขึ้น1

  Fourth party
 
มานะ รัตนโกเศศ.jpg
ผู้นำ มานะ รัตนโกเศศ
พรรค ราษฎร (พ.ศ. 2529)
ที่นั่งก่อนหน้า 1
ที่นั่งที่ชนะ 0
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง1

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

อานันท์ ปันยารชุน
อิสระ (คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ)

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

สุจินดา คราประยูร
อิสระ

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพิษณุโลก มีนาคม พ.ศ. 2535 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2535 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 2 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 5 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อ พ.ศ. 2531 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 1) และ 2 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 2)[1]

ภาพรวม

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

[แก้]

เขต 1เขต 2

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองพิษณุโลก, อำเภอบางระกำ, อำเภอบางกระทุ่ม และอำเภอพรหมพิราม

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดพิษณุโลก
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ชาติไทย สุชน ชามพูนท (7)* 74,801
ประชากรไทย ยิ่งพันธ์ มนะสิการ (6)* 73,378
ความหวังใหม่ อุดมศักดิ์ อุชชิน (16)* 62,271
ชาติไทย เติม แย้มเสมอ (8) 58,749
พลังธรรม พงษ์ศักดิ์ ธวัชชัยนันท์ (19) 48,056
ประชาธิปัตย์ สมพงษ์ พลไวย์ (13)✔ 37,679
สามัคคีธรรม จ่าเอก คนเด็ด มั่นสีเขียว (1)✔ 36,472
กิจสังคม อนันต์ ภักดิ์ประไพ (10)✔ 10,691
พลังธรรม สมบัติ ธวัชชัยนันท์ (20) 8,215
พลังธรรม ถาวร แสงประเสริฐ (21) 6,189
ความหวังใหม่ ดาบตำรวจ สุธน สารสมบูรณ์ (17) 3,122
ชาติไทย ภูวดล สิงห์ลอ (9) 3,115
ความหวังใหม่ พีระ ศรีสุข (18) 2,998
ประชาธิปัตย์ แสงฤทธิ์ พลอยงาม (14) 2,667
สามัคคีธรรม ไพโรจน์ แสงธรรม (2) 2,376
สามัคคีธรรม เดชา คำชม (3) 2,290
ประชากรไทย โสภณ อุบลเจริญ (5) 2,004
ประชากรไทย ครรชิตพล มีผดุง (4) 1,705
ประชาธิปัตย์ ธีรวัฒน์ ศิริวุฒิการ (15) 1,680
กิจสังคม บำรุง ธรรมวโร (11) 1,493
กิจสังคม ชูเกียรติ แก้วประไพ (12) 1,320
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ชาติไทย รักษาที่นั่ง
ประชากรไทย รักษาที่นั่ง
ความหวังใหม่ ได้ที่นั่งจาก ราษฎร (พ.ศ. 2529)

เขตเลือกตั้งที่ 2

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอนครไทย, อำเภอชาติตระการ, อำเภอวัดโบสถ์, อำเภอวังทอง และอำเภอเนินมะปราง

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดพิษณุโลก
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ชาติไทย วีระ ปัทมสิริวัฒน์ (5)✔ 52,356
ชาติไทย ไกรสิทธิ์ ไกรสิทธิพงศ์ (6) 39,857
ความหวังใหม่ จุติ ไกรฤกษ์ (8)* 38,420
ความหวังใหม่ โกศล ไกรฤกษ์ (7)* 36,100
ประชากรไทย เอกพล โท้ทอง (1) 5,221
ประชาธิปัตย์ พรต เสงี่ยมอยู่ (4) 4,473
ประชากรไทย วันชัย เดชมาก (2) 3,569
ประชาธิปัตย์ จำเนียร จันทร์เนียม (3) 1,822
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ชาติไทย ได้ที่นั่งจาก ประชากรไทย
ชาติไทย ได้ที่นั่งจาก ประชากรไทย

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. รายงานผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ๒๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๓๕. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2535