ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดสมุทรปราการในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดสมุทรปราการในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535

← พ.ศ. 2531 22 มีนาคม พ.ศ. 2535 กันยายน พ.ศ. 2535 →

6 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน534,958
ผู้ใช้สิทธิ48.51%
  First party Second party Third party
 
ผู้นำ สมบุญ ระหงษ์ สมัคร สุนทรเวช เทียนชัย ศิริสัมพันธ์
พรรค ชาติไทย ประชากรไทย ราษฎร (พ.ศ. 2529)
ที่นั่งก่อนหน้า 1 1 3
ที่นั่งที่ชนะ 5 1 0
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น4 Steady0 ลดลง3

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

อานันท์ ปันยารชุน
อิสระ (คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ)

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

สุจินดา คราประยูร
อิสระ

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสมุทรปราการ มีนาคม พ.ศ. 2535 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2535 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 2 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 6 คน จำนวนที่นั่งเพิ่มจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อ พ.ศ. 2531 1 ที่นั่ง แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน[1]

ภาพรวม

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

[แก้]

เขต 1เขต 2

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วย อำเภอพระประแดง, อำเภอพระสมุทรเจดีย์ และอำเภอเมืองสมุทรปราการ (เฉพาะตำบลบางโปรง ตำบลบางด้วน ตำบลบางเมืองใหม่ ตำบลปากน้ำ และตำบลท้ายบ้าน)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดสมุทรปราการ
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ชาติไทย วัฒนา อัศวเหม (1)* 65,423
ประชากรไทย สนิท กุลเจริญ (7)* 52,693
ชาติไทย ประดิษฐ์ ยั่งยืน (2) 48,500
ชาติไทย สมชาย สาดิษฐ์ (3)* 46,562
ประชากรไทย นันทนา นันทวโรภาส (8) 43,382
พลังธรรม ว่าที่เรือโท วัลลภ ยังตรง (4) 39,109
พลังธรรม บัญญัติ จันทร์ฉาย (5) 32,658
ประชากรไทย สมรรค ศิริจันทร์ (9)✔ 32,195
พลังธรรม สมศักดิ์ สุขเกษม (6) 27,140
ความหวังใหม่ อภิชาต มหารุ่งเรืองรัตน์ (11) 2,440
ประชาธิปัตย์ ร้อยตำรวจเอก วิทยา อ่วมเจริญ (13) 2,162
ประชาธิปัตย์ สงวนวงศ์ วรคุตตานนท์ (14) 2,113
ความหวังใหม่ สมพงษ์ ช่วยสมบูรณ์ (10) 1,839
ประชาธิปัตย์ ประกิต สุขเกษม (15) 1,296
ความหวังใหม่ มนัส วิทยารัตน์ (12) 1,155
ท้องถิ่นก้าวหน้า อาภรณ์ ทองก้อน (16) 417
ท้องถิ่นก้าวหน้า สุภาพ พุ่มโพธิ์ (17) 191
ท้องถิ่นก้าวหน้า ประโลม ช้ำกล่ำ (18) 163
สหประชาธิปไตย ปราณี ชื่นจรูญ (24) 126
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) สุรพล สังข์แก้ว (19) 124
สหประชาธิปไตย มานพ กมลทิพย์ (22) 91
สหประชาธิปไตย เชาวน์ลิต สุทธิธรรม (23) 85
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) วรวรรณ ชื่นจรูญ (20) 72
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) มานะ รัชตะบุตร (21) 62
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ชาติไทย ได้ที่นั่งจาก ราษฎร (พ.ศ. 2529)
ประชากรไทย รักษาที่นั่ง
ชาติไทย ได้ที่นั่งจาก ราษฎร (พ.ศ. 2529)

เขตเลือกตั้งที่ 2

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วย อำเภอบางบ่อ, อำเภอบางพลี และอำเภอเมืองสมุทรปราการ (เฉพาะตำบลบางปู ตำบลบางปูใหม่ ตำบลแพรกษา ตำบลบางเมือง ตำบลเทพารักษ์ และตำบลสำโรงเหนือ)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดสมุทรปราการ
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ชาติไทย พลอากาศเอก สมบุญ ระหงษ์ (1) 53,354
ชาติไทย สมพร อัศวเหม (3)* 47,198
ชาติไทย มั่น พัธโนทัย (2) 48,810
ประชากรไทย ว่าที่ร้อยตรี ณัฐ ศรีเฟื่องฟุ้ง (7)✔ 34,596
พลังธรรม พิชัย บุญมาเลิศ (4) 31,188
พลังธรรม ฉิ้น ทองมี (5) 28,972
พลังธรรม อาทร บุญเจียง (6) 27,292
ประชากรไทย บุญหลง ลัดพลี (9) 24,703
ประชากรไทย อุไร พุ่มโพธิ์ (8) 23,822
ความหวังใหม่ ว่าที่ร้อยตรี อำพล ขำเพ็ง (11) 3,227
ความหวังใหม่ จ่าสิบตำรวจ บุญศิริ ผุดวารี (10) 2,880
ความหวังใหม่ แสนศักดิ์ รัตนภู (12) 2,641
ท้องถิ่นก้าวหน้า ภรดี พงษ์ไพดิษฐ (15) 360
เกษตรเสรี สฤษดิ์ คำสวัสดิ์ (25) 354
ท้องถิ่นก้าวหน้า ประเจิด ศรประเสริฐ (13) 254
ท้องถิ่นก้าวหน้า วิชิต พงศ์สำราญ (14) 226
เกษตรเสรี อดุล บินหะยีอาระซัน (27) 196
เกษตรเสรี อนันต์ วัดอ่อน (26) 144
สหประชาธิปไตย มยุรี เบี้ยวศิริ (24) 118
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) วิรัช น้อยนาคสุข (19) 117
สหประชาธิปไตย สำเภา สังข์แก้ว (23) 108
สหประชาธิปไตย ทวน ปุ้ยสงคราม (22) 95
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) ชุลีลักษณ์ มอทิพย์ (21) 88
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) มนตรี จันทร์ลอย (20) 63
ชาติประชาชน (พ.ศ. 2534) เล็ก ช้างเผือก (16)
ชาติประชาชน (พ.ศ. 2534) เผด็จ อ้นเปรม (17)
ชาติประชาชน (พ.ศ. 2534) สม อินทร์จันทร์ (18)
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ชาติไทย ชนะที่นั่ง (เขตเลือกตั้งใหม่)
ชาติไทย ได้ที่นั่งจาก ราษฎร (พ.ศ. 2529)
ชาติไทย รักษาที่นั่ง

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. รายงานผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ๒๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๓๕. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2535