ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดพิษณุโลกในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2539

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดพิษณุโลกในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2539

← พ.ศ. 2538 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 พ.ศ. 2544 →

6 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน570,261
ผู้ใช้สิทธิ57.87%
  First party Second party Third party
 
Chatichai Choonhavan.jpg
Samak Sundaravej.JPG
Chuan Leekpai 2010-04-01.jpg
ผู้นำ ชาติชาย ชุณหะวัณ สมัคร สุนทรเวช ชวน หลีกภัย
พรรค ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) ประชากรไทย ประชาธิปัตย์
ที่นั่งก่อนหน้า 2 1 1
ที่นั่งที่ชนะ 2 2 2
ที่นั่งเปลี่ยน Steady0 เพิ่มขึ้น1 เพิ่มขึ้น1

  Fourth party
 
Amnuay Viravan.jpg
ผู้นำ อำนวย วีรวรรณ
พรรค นำไทย
ที่นั่งก่อนหน้า 2
ที่นั่งที่ชนะ 0
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง2

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

บรรหาร ศิลปอาชา
ชาติไทย

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

ชวลิต ยงใจยุทธ
ความหวังใหม่

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพิษณุโลก พ.ศ. 2539 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2539 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 2 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 6 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อ พ.ศ. 2538 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน[1]

ภาพรวม

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

[แก้]

เขต 1เขต 2

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองพิษณุโลก, อำเภอบางระกำ, อำเภอบางกระทุ่ม และอำเภอพรหมพิราม (เฉพาะตำบลมะตูมและตำบลท่าช้าง)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดพิษณุโลก
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชากรไทย ยิ่งพันธ์ มนะสิการ (6)* 82,423 52.14
ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) สุชน ชามพูนท (7)* 72,268 45.72
ประชาธิปัตย์ พิษณุ พลไวย์ (13)✔ 69,991 44.27
ความหวังใหม่ พลเอก ศิริ ทิวะพันธุ์ (1)* 59,052 37.35
ประชาธิปัตย์ พิทักษ์ สันติวงศ์เดชา (15) 58,455 36.98
กิจสังคม สมศักดิ์ พงษ์สิงห์ (10) 57,475 36.36
ประชาธิปัตย์ กิตติ คุณะเกษม (14) 25,631 16.21
ความหวังใหม่ พันตรี บำรุง ทองเงิน (3) 2,647 1.67
ความหวังใหม่ กมเลศวร์ เหล่าไพโรจน์ (2) 2,631 1.66
ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) ศักดิ์สิทธิ์ ธนะมั่น (8) 2,282 1.44
ประชากรไทย ปริญญา โสมพัฒนพงษ์ (5) 2,162 1.36
ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) ชูศักดิ์ คิรินทร์ (9) 2,029 1.28
กิจสังคม ร้อยแก้ว สายยิ้ม (12) 2,008 1.27
กิจสังคม เอกพล โท้ทอง (11) 1,954 1.23
ประชากรไทย ภัทรพงศ์ มนะสิการ (4) 1,715 1.08
บัตรดี 158,065 95.06
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,778 1.67
บัตรเสีย 5,442 3.27
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 166,285 56.99
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 291,772 100.00
ประชากรไทย รักษาที่นั่ง
ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) รักษาที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก นำไทย

เขตเลือกตั้งที่ 2

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอนครไทย, อำเภอชาติตระการ, อำเภอวัดโบสถ์, อำเภอวังทอง, อำเภอเนินมะปราง และอำเภอพรหมพิราม (ยกเว้นตำบลมะตูมและตำบลท่าช้าง)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดพิษณุโลก
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชากรไทย ไกรสิทธิ์ ไกรสิทธิพงศ์ (10)✔ 98,226 62.76
ประชาธิปัตย์ จุติ ไกรฤกษ์ (8)* 86,296 55.14
ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) วีระ ปัทมสิริวัฒน์ (1)* 80,549 51.46
ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) อุดมศักดิ์ อุชชิน (2)* 63,931 40.85
ประชาธิปัตย์ โกศล ไกรฤกษ์ (9)✔ 58,403 37.31
ประชาธิปัตย์ จรัล ห้วยนุ้ย (7) 13,219 8.44
ประชากรไทย โชคดี ดาราวิทยากร (11) 2,508 1.60
ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) สุเทพ ครุฑถ้วย (3) 2,493 1.59
ความหวังใหม่ สนาม บุญภักดี (6) 1,672 1.06
ความหวังใหม่ ภุชงค์ ทองคำพงษ์ (4) 1,557 0.99
ความหวังใหม่ จ่าเอก คนเด็ด มั่นสีเขียว (5)✔ 1,543 0.98
ประชากรไทย พิเชษฐ ตั้งใจจิต (12) 817 0.52
บัตรดี 156,497 95.58
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,394 0.85
บัตรเสีย 5,847 3.57
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 163,738 58.80
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 278,489 100.00
ประชากรไทย ได้ที่นั่งจาก นำไทย
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) รักษาที่นั่ง

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "จากเว็บไซต์รายงานผลการเลือกตั้งกรมการปกครอง". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2001-06-28. สืบค้นเมื่อ 2024-11-15.