จังหวัดพิจิตรในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535
หน้าตา
| |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
4 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลงทะเบียน | 357,210 | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ผู้ใช้สิทธิ | 55.61% | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
| |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
|
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพิจิตร มีนาคม พ.ศ. 2535 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2535 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 2 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 4 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อ พ.ศ. 2531 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 2 คน[1]
ภาพรวม
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต
[แก้]สัญลักษณ์และความหมาย | |
* | ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา |
** | ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา |
† | ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์ |
✔ | ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว |
( ) | หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร |
ตัวหนา | ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง |
เขตเลือกตั้งที่ 1
[แก้]เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองพิจิตร, อำเภอสามง่าม, อำเภอโพธิ์ประทับช้าง และอำเภอวังทรายพูน
ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดพิจิตร | |||||
---|---|---|---|---|---|
พรรค | ผู้สมัคร | คะแนนเสียง | % | ± | |
ความหวังใหม่ | ไพฑูรย์ แก้วทอง (1)* | 64,480 | |||
ความหวังใหม่ | ธำรง พัฒนรัฐ (2) | 44,245 | |||
ชาติไทย | บุญเสริม ถาวรกูล (5)* | 43,457 | |||
ประชาธิปัตย์ | สุณีย์ เหลืองวิจิตร (3) | 27,655 | |||
ประชาธิปัตย์ | อุดม เอี่ยมสะอาด (4) | 4,971 | |||
ชาติไทย | โสภณ สิทธิเกษร (6) | 1,858 | |||
สหประชาธิปไตย | สุนันทา ฐากูรบุตร (7) | 216 | |||
สหประชาธิปไตย | อภิชาติ ฐากูรบุตร (8) | 112 | |||
บัตรดี | – | ||||
ไม่ประสงค์ลงคะแนน | – | ||||
บัตรเสีย | – | ||||
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง | – | ||||
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง | — | ||||
ความหวังใหม่ ได้ที่นั่งจาก ราษฎร (พ.ศ. 2529) | |||||
ความหวังใหม่ ได้ที่นั่งจาก ชาติไทย |
เขตเลือกตั้งที่ 2
[แก้]เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอตะพานหิน, อำเภอบางมูลนาก, อำเภอโพทะเล และอำเภอทับคล้อ
ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดพิจิตร | |||||
---|---|---|---|---|---|
พรรค | ผู้สมัคร | คะแนนเสียง | % | ± | |
ความหวังใหม่ | พันตำรวจโท อดุลย์ บุญเสรฐ (1) | 56,070 | |||
ประชาธิปัตย์ | พลตรี สนั่น ขจรประศาสน์ (3)* | 52,070 | |||
ประชาธิปัตย์ | โตก รอดรักษา (4)* | 40,584 | |||
ความหวังใหม่ | ธีรพันธ์ นันทนพิบูล (2) | 21,111 | |||
บัตรดี | – | ||||
ไม่ประสงค์ลงคะแนน | – | ||||
บัตรเสีย | – | ||||
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง | – | ||||
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง | — | ||||
ความหวังใหม่ ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์ | |||||
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง |
ดูเพิ่ม
[แก้]- จังหวัดพิจิตรในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2531
- จังหวัดพิจิตรในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กันยายน พ.ศ. 2535
อ้างอิง
[แก้]- ↑ รายงานผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ๒๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๓๕. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2535