ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดพิษณุโลกในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2522

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดพิษณุโลกในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2522

← พ.ศ. 2519 22 เมษายน พ.ศ. 2522 พ.ศ. 2526 →

5 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน321,244
ผู้ใช้สิทธิ42.39%
  First party Second party Third party
 
Kukrit Pramoj 1974 (cropped).jpg
ประมาณ อดิเรกสาร.jpg
Samak Sundaravej.JPG
ผู้นำ หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช ประมาณ อดิเรกสาร สมัคร สุนทรเวช
พรรค กิจสังคม ชาติไทย ประชากรไทย
ที่นั่งก่อนหน้า 2 1 พรรคใหม่
ที่นั่งที่ชนะ 2 1 1
ที่นั่งเปลี่ยน Steady0 Steady0 เพิ่มขึ้น1

  Fourth party Fifth party
 
บุญยง วัฒนพงศ์.jpg
Prasit Kanchanawat.jpg
ผู้นำ บุญยง วัฒนพงศ์ ประสิทธิ์ กาญจนวัฒน์
พรรค ชาติประชาชน (พ.ศ. 2522) สังคมชาตินิยม
ที่นั่งก่อนหน้า พรรคใหม่ 1
ที่นั่งที่ชนะ 1 0
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น1 ลดลง1

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์
คณะปฎิวัติ

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์
อิสระ

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพิษณุโลก พ.ศ. 2522 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2522 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2522 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 2 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 5 คน จำนวนที่นั่งเพิ่มจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อ พ.ศ. 2519 1 ที่นั่ง แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 1) และ 2 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 2)[1]

ภาพรวม

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

[แก้]

เขต 1เขต 2

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองพิษณุโลก, อำเภอบางระกำ, อำเภอบางกระทุ่ม และอำเภอพรหมพิราม

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดพิษณุโลก
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
กิจสังคม จ่าเอก คนเด็ด มั่นสีเขียว (4) 29,661
ชาติไทย นาวาอากาศโท ทินกร พันธุ์กระวี (1)* 27,795
ประชากรไทย ยิ่งพันธ์ มนะสิการ (9) 27,604
ประชาธิปัตย์ วินัย ศรีวิโรจน์ (8) 27,260
ประชาธิปัตย์ สมพงษ์ พลไวย์ (6) 24,935
กิจสังคม อัฐ เกตุสิงห์ (3) 24,520
ชาติไทย อุดม สุวัจนานนท์ (2) 15,199
กิจประชาธิปไตย (พ.ศ. 2522) ดำรง ขันเณรพานิช (10) 11,190
ประชาธิปัตย์ สุรปาณี ไกรฤกษ์ (7)✔ 7,109
ไม่สังกัดพรรค สายยันต์ สมศรี (5) 5,526
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
กิจสังคม ได้ที่นั่งจาก สังคมชาตินิยม
ชาติไทย รักษาที่นั่ง
ประชากรไทย ชนะที่นั่ง (เขตเลือกตั้งใหม่)

เขตเลือกตั้งที่ 2

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอนครไทย, อำเภอชาติตระการ, อำเภอวัดโบสถ์, อำเภอวังทอง และกิ่งอำเภอเนินมะปราง

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดพิษณุโลก
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
กิจสังคม โกศล ไกรฤกษ์ (4)* 16,720
ชาติประชาชน (พ.ศ. 2522) ประเทือง วิจารณ์ปรีชา (6)* 14,095
กิจสังคม สุเทพ สุวรรณเกิด (5) 13,600
ชาติประชาชน (พ.ศ. 2522) นคร กาสยานนท์ (7) 10,456
กิจประชาธิปไตย (พ.ศ. 2522) กำเนิด ทองคำพงษ์ (8) 9,239
ประชาธิปัตย์ ประพนธ์ ธนูพันธุ์ชัย (2) 8,748
ไม่สังกัดพรรค หล้า โงมโปร่งเปี้ย (10) 7,721
ไม่สังกัดพรรค สรศักดิ์ อิ่มวิทยา (1) 4,936
ชาติไทย ธวัชชัย แก้วศรี (3) 4,026
กิจประชาธิปไตย (พ.ศ. 2522) จำนงค์ เวียงชัย (9) 2,700
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
กิจสังคม รักษาที่นั่ง
ชาติประชาชน (พ.ศ. 2522) ได้ที่นั่งจาก กิจสังคม

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. รายงานวิจัยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2522. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2523