ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดชลบุรีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดชลบุรีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535

← พ.ศ. 2531 22 มีนาคม พ.ศ. 2535 กันยายน พ.ศ. 2535 →

6 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน559,445
ผู้ใช้สิทธิ51.97%
  First party Second party Third party
 
ผู้นำ ณรงค์ วงศ์วรรณ อุทัย พิมพ์ใจชน มนตรี พงษ์พานิช
พรรค สามัคคีธรรม เอกภาพ กิจสังคม
ที่นั่งก่อนหน้า พรรคใหม่ 2 4
ที่นั่งที่ชนะ 4 2 0
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น4 Steady0 ลดลง4

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

อานันท์ ปันยารชุน
อิสระ (คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ)

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

สุจินดา คราประยูร
อิสระ

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชลบุรี มีนาคม พ.ศ. 2535 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2535 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 2 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 6 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อ พ.ศ. 2531 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน[1]

ภาพรวม

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

[แก้]

เขต 1เขต 2

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองชลบุรี, อำเภอพานทอง, อำเภอพนัสนิคม และอำเภอบ่อทอง

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดชลบุรี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
สามัคคีธรรม เทอดธรรม อัมราลิขิต (2)* 89,826
สามัคคีธรรม สง่า ธนสงวนวงศ์ (3) 81,940
เอกภาพ เสาวลักษณ์ สุริยาทิพย์ (5) 59,787
เอกภาพ ประมวล เอมเปีย (4) 42,567
เอกภาพ เกษม เหลืองอ่อน (6) 25,071
ความหวังใหม่ ธนะวัฒน์ วัฒนวงษ์ภิญโญ (7) 23,185
ความหวังใหม่ ชมพู กาญจนนาค (9) 5,901
ความหวังใหม่ ชูเกียรติ สุขเจริญ (8) 4,269
ประชาธิปัตย์ ประเสริฐ อนันตศิลป์ (17) 766
ประชาธิปัตย์ สุวรรณ วิสุทธิชัย (18) 572
ประชาธิปัตย์ สมชาย ทองนาค (16) 425
มวลชน เฉลิมพล เชื้อพลายเวช (10) 293
มวลชน สุชาติ ญาณวัฒนวงศ์ (11) 159
มวลชน นาตยา ชินรัตนา (12) 158
สหประชาธิปไตย ไวพจน์ ห้วยใหญ่ (15) 134
สหประชาธิปไตย ธงชัย บุญมาก (13) 103
สหประชาธิปไตย มนัส หลงเสน่ห์ (14) 74
สามัคคีธรรม นิคม แสนเจริญ (1)*
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
สามัคคีธรรม ได้ที่นั่งจาก กิจสังคม
สามัคคีธรรม ได้ที่นั่งจาก กิจสังคม
เอกภาพ รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 2

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอหนองใหญ่, อำเภอบ้านบึง, อำเภอศรีราชา, อำเภอบางละมุง, อำเภอสัตหีบ และกิ่งอำเภอเกาะสีชัง

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดชลบุรี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
สามัคคีธรรม สนธยา คุณปลื้ม (3) 102,970
สามัคคีธรรม จรูญ งามพิเชษฐ์ (1)* 85,622
เอกภาพ อุทัย พิมพ์ใจชน (4)* 73,749
สามัคคีธรรม สุรสิทธิ์ นิธิวุฒิวรรักษ์ (2) 73,450
ความหวังใหม่ ดรงค์ สิงห์โตทอง (7)* 24,636
เอกภาพ ไชยเฉลิม พิทักษ์ผลิน (5) 23,486
เอกภาพ ธงชัย พิมพ์สกุล (6) 19,884
ประชาธิปัตย์ นาวาเอก หยวก ญาดี (10) 3,472
ความหวังใหม่ ใจศักดิ์ สารทพันธุ์ (8) 3,138
ความหวังใหม่ วัชรินทร์ อินทุลักษณ์ (9) 2,373
ประชาธิปัตย์ กมล จิตโรภาส (11) 1,900
ประชาธิปัตย์ เปรมปรีชา ทิพยวาน (12) 960
ประชากรไทย สวง ผึ่งฉาย (22) 538
ประชากรไทย พีระพัฒน์ บัวเขียว (23) 418
ประชากรไทย สมภักตร์ เสาหัส (24) 373
สหประชาธิปไตย วิชัย กุมพันธ์ (18) 215
สหประชาธิปไตย สุรสิทธิ์ คชสิทธิ์ (17) 212
มวลชน พงษ์เกษม เรืองศรี (19) 168
สหประชาธิปไตย นิตย์ แสงหิรัญ (16) 148
มวลชน กาญจนา คุ้มทรัพย์ (21) 114
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) สมควร ทับจีน (13) 112
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) ลำยอง ทับจีน (14) 101
มวลชน บุญชู โตเจริญ (20) 98
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) สาหร่าย ทับจีน (15) 85
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
สามัคคีธรรม ได้ที่นั่งจาก กิจสังคม
สามัคคีธรรม ได้ที่นั่งจาก กิจสังคม
เอกภาพ รักษาที่นั่ง

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. รายงานผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ๒๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๓๕. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2535