ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดพิษณุโลกในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดพิษณุโลกในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544

← พ.ศ. 2539 6 มกราคม พ.ศ. 2544 พ.ศ. 2548 →

6 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ผู้ใช้สิทธิ67.25%
  First party Second party Third party
 
Thaksin crop.jpg
Chuan Leekpai 2010-04-01.jpg
กร ทัพพะรังสี 1970.jpg
พรรค ไทยรักไทย ประชาธิปัตย์ ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)
ที่นั่งก่อนหน้า พรรคใหม่ 2 4
ที่นั่งที่ชนะ 4 2 0
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น4 Steady0 ลดลง4
คะแนนเสียง 165,172 124,846 18,714
% 42.08 31.80 4.77

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

ชวน หลีกภัย
ประชาธิปัตย์

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

ทักษิณ ชินวัตร
ไทยรักไทย

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพิษณุโลก พ.ศ. 2544 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2544 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 6 เขตเลือกตั้ง[1] จำนวนที่นั่งเท่ากับการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อปี พ.ศ. 2539 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 1 คน

การเลือกตั้งครั้งนี้เป็นการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไปครั้งแรกภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 ที่มีการใช้การเลือกตั้งรูปใหม่ ทั้งการเปลี่ยนแปลงเขตเลือกตั้งจากเขตใหญ่เรียงหมายเลขเป็นเขตเดียวหมายเลขเดียว และเพิ่มเติมการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อเป็นครั้งแรก

ภาพรวม

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ (รวมทั้งจังหวัดพิษณุโลก)

[แก้]
พรรค คะแนนเสียง
จน. %
ไทยรักไทย 165,172 42.08%
ประชาธิปัตย์ 124,846 31.80%
ชาติพัฒนา 18,714 4.77%
อื่น ๆ 83,784 21.35%
ผลรวม 392,516 100.00%
คะแนนเสียง
ประชาธิปัตย์
  
42.08%
ไทยรักไทย
  
31.80%
ชาติพัฒนา
  
4.77%
อื่น ๆ
  
21.35%

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ (รายเขตเลือกตั้ง)

[แก้]
เขตการเลือกตั้ง ไทยรักไทย ประชาธิปัตย์ อื่น ๆ ผลรวม ผลการเลือกตั้ง
คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % !
เขต 1 29,580 45.57% 22,980 35.40% 12,350 19.03% 64,910 100.00% ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่ง
เขต 2 31,155 43.65% 25,683 35.98% 14,541 20.37% 71,379 100.00% ไทยรักไทย ได้ที่นั่ง
เขต 3 34,132 50.25% 12,385 18.23% 21,411 31.52% 67,928 100.00% ไทยรักไทย ได้ที่นั่ง
เขต 4 27,412 44.75% 19,858 32.42% 13,983 22.83% 61,253 100.00% ไทยรักไทย ได้ที่นั่ง
เขต 5 13,749 20.43% 22,124 32.88% 31,409 46.69% 67,282 100.00% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
เขต 6 29,144 48.77% 21,816 36.50% 8,804 14.73% 59,764 100.00% ไทยรักไทย ได้ที่นั่ง
ผลรวม 165,172 42.08% 124,846 31.80% 102,498 26.12% 392,516 100.00%

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต (รวมทั้งจังหวัดพิษณุโลก)

[แก้]
พรรค จำนวน
ผู้สมัคร
คะแนนเสียง ที่นั่ง
จน. % จน. +/– %
ไทยรักไทย 6 143,161 41.40% 4 เพิ่มขึ้น4 66.67%
ประชาธิปัตย์ 6 112,093 32.41% 2 Steady 33.33%
ชาติพัฒนา 4 28,261 8.17% 0 ลดลง4 0.00%
อื่น ๆ 21 62,304 18.02% 0 Steady 0.00%
ผลรวม 37 345,818 100.00% 6 Steady 100.00%
คะแนนเสียง
ประชาธิปัตย์
  
41.40%
ไทยรักไทย
  
32.41%
ชาติพัฒนา
  
8.17%
อื่น ๆ
  
18.02%
ที่นั่ง
ไทยรักไทย
  
66.67%
ประชาธิปัตย์
  
33.33%

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต (รายเขตเลือกตั้ง)

[แก้]
เขตการเลือกตั้ง ไทยรักไทย ประชาธิปัตย์ อื่น ๆ ผลรวม ผลการเลือกตั้ง
คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % !
เขต 1 23,643 40.60% 25,975 44.61% 8,609 14.79% 58,227 100.00% ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่ง
เขต 2 27,946 43.20% 24,933 38.55% 11,805 18.25% 64,684 100.00% ไทยรักไทย ได้ที่นั่ง
เขต 3 28,028 46.19% 6,651 10.96% 26,186 42.85% 60,865 100.00% ไทยรักไทย ได้ที่นั่ง
เขต 4 26,396 51.02% 19,496 37.68% 5,845 11.30% 51,737 100.00% ไทยรักไทย ได้ที่นั่ง
เขต 5 7,751 13.50% 14,337 25.15% 34,927 61.35% 57,015 100.00% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
เขต 6 29,397 54.98% 20,701 38.72% 3,372 6.30% 53,470 100.00% ไทยรักไทย ได้ที่นั่ง
ผลรวม 143,161 41.40% 112,093 32.41% 90,564 26.19% 345,818 100.00%

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ

[แก้]
 •  ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ จังหวัดพิษณุโลก
พรรค คะแนนเสียง ร้อยละ
เสรีประชาธิปไตย (1) 2,190 0.56
ชาวไทย (2) 815 0.21
กสิกรไทย (3) 909 0.23
นิติมหาชน (4) 1,463 0.37
ความหวังใหม่ (5) 1,916 0.49
รักสามัคคี (6) 1,991 0.51
ไทยรักไทย (7) 165,172 42.08
ชาติประชาธิปไตย (8) 3,312 0.84
ชาติไทย (9) 4,267 1.09
สันติภาพ (10) 309 0.08
ถิ่นไทย (11) 8,421 2.15
พลังประชาชน (12) 1,366 0.35
ราษฎร (13) 14,661 3.74
สังคมใหม่ (14) 1,066 0.27
เสรีธรรม (15) 16,845 4.29
ประชาธิปัตย์ (16) 124,846 31.80
อำนาจประชาชน (17) 2,766 0.70
ประชากรไทย (18) 1,980 0.57
ไท (19) 877 0.22
ก้าวหน้า (20) 421 0.11
ชาติพัฒนา (21) 18,714 4.77
แรงงานไทย (22) 461 0.12
เผ่าไท (23) 572 0.15
สังคมประชาธิปไตย (24) 692 0.17
ชีวิตที่ดีกว่า (25) 664 0.17
พัฒนาสังคม (26) 1,117 0.28
ไทยช่วยไทย (27) 1,948 0.50
ไทยมหารัฐ (28) 480 0.12
ศรัทธาประชาชน (29) 246 0.06
วิถีไทย (30) 188 0.05
ไทยประชาธิปไตย (31) 4,233 1.08
พลังธรรม (32) 1,180 0.30
ชาวนาพัฒนาประเทศ (33) 860 0.22
กิจสังคม (34) 719 0.18
เกษตรมหาชน (35) 1,941 0.49
พลังเกษตรกร (36) 1,518 0.39
สยาม (37) 1,390 0.35
บัตรดี 392,516 95.25
บัตรเสีย 8,115 1.97
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 11,356 2.76
ผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง 411,987 67.25
ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง 612,660 100.00

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

[แก้]

เขต 1เขต 2เขต 3เขต 4เขต 5เขต 6

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองพิษณุโลก (เฉพาะตำบลในเมือง ตำบลอรัญญิก ตำบลวัดจันทร์ ตำบลบ้านคลอง ตำบลจอมทอง และตำบลพลายชุมพล)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดพิษณุโลก
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ พิทักษ์ สันติวงศ์เดชา (16) 25,975 44.61
ไทยรักไทย ยิ่งพันธ์ มนะสิการ (7)* 23,643 40.60
ราษฎร พันตำรวจเอก ประสาท ไพจิตร (13) 5,902 10.14
ถิ่นไทย ธีรการ ศิริวุฒิการ (11) 2,112 3.63
ชาติไทย เรวัตร แย้มบู่ (9) 595 1.02
ผลรวม 58,227 100.00
บัตรดี 58,227 85.12
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 5,601 8.19
บัตรเสีย 4,577 6.69
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 68,405 68.29
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 100,168 100.00
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)

เขตเลือกตั้งที่ 2

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอเมืองพิษณุโลก (ยกเว้นตำบลในเมือง ตำบลอรัญญิก ตำบลวัดจันทร์ ตำบลบ้านคลอง ตำบลจอมทอง ตำบลพลายชุมพล ตำบลบ้านป่า และตำบลมะขามสูง), อำเภอวังทอง (เฉพาะตำบลวังพิกุล ตำบลแม่ระกา และตำบลหนองพระ) และอำเภอบางกระทุ่ม (เฉพาะตำบลท่าตาล)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดพิษณุโลก
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ไทยรักไทย พิษณุ พลไวย์ (7)* 27,946 43.20
ประชาธิปัตย์ มนต์ชัย วิวัฒน์ธนาฒย์ (16) 24,933 38.55
ราษฎร เติม แย้มเสมอ (13) 7,089 10.96
ถิ่นไทย สหัทยา กันนะพันธุ์ (21) 3,762 5.82
เสรีธรรม (พ.ศ. 2535) ธรรมรงค์ สิทธิศักดิ์ (15) 954 1.47
ผลรวม 64,684 100.00
บัตรดี 64,684 86.18
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,569 3.42
บัตรเสีย 7,806 10.40
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 75,095 70.89
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 105,878 100.00
ไทยรักไทย ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์

เขตเลือกตั้งที่ 3

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วยอำเภอวัดโบสถ์, อำเภอพรหมพิราม และอำเภอเมืองพิษณุโลก (เฉพาะตำบลบ้านป่าและตำบลมะขามสูง)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 3 จังหวัดพิษณุโลก
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ไทยรักไทย มยุรา มนสิการ (7) 28,028 46.19
ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) นพพล เหลืองทองนารา (21) 14,698 24.22
ราษฎร โยธิน พันธ์ทอง (13) 7,545 12.43
ประชาธิปัตย์ ยอด นาคหวัง (16) 6,651 10.96
เกษตรมหาชน วรภพ ตรีอินทอง (35) 1,777 2.93
ถิ่นไทย ธีระ ธนสัมบัณณ์ (11) 600 0.99
ประชากรไทย จ่าเอก คนเด็ด มั่นสีเขียว (18)✔ 294 0.48
ชาวไร่ชาวนาไทย นาวาเอก ประเสริฐ อินทโชติ (38) 111 0.18
ผลรวม 60,865 100.00
บัตรดี 60,865 85.66
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,333 1.88
บัตรเสีย 8,830 12.46
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 70,458 68.06
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 104,107 100.00
ไทยรักไทย ได้ที่นั่งจาก ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)

เขตเลือกตั้งที่ 4

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 4 ประกอบด้วยอำเภอบางระกำ และอำเภอบางกระทุ่ม (ยกเว้นตำบลท่าตาล)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 4 จังหวัดพิษณุโลก
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ไทยรักไทย สุชน ชามพูนท (7)* 26,396 51.02
ประชาธิปัตย์ นพดล สัจจัง (16) 19,496 37.68
ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) กิตติพันธ์ ยวนทอง (21) 2,719 5.26
ชาติไทย ภูวดล สิงห์ลอ (9) 1,772 3.43
ราษฎร ฐิติวัชร์ พงษ์พานิช (13) 1,162 2.25
ประชากรไทย ชัยวัตร์ ผิวจันทร์ (18) 192 0.37
ผลรวม 51,737 100.00
บัตรดี 51,737 80.23
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,530 3.92
บัตรเสีย 10,224 15.85
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 64,491 62.72
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 102,820 100.00
ไทยรักไทย ได้ที่นั่งจาก ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)

เขตเลือกตั้งที่ 5

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 5 ประกอบด้วยอำเภอนครไทย, อำเภอชาติตระการ และอำเภอวังทอง (เฉพาะตำบลบ้านกลาง)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 5 จังหวัดพิษณุโลก
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ นคร มาฉิม (16) 14,337 25.15
เสรีธรรม (พ.ศ. 2535) ทวีผล เสนีย์วงศ์ ณ อยุธยา (15) 14,106 24.07
ราษฎร ชุติกาญจน์ คำผงแดง (13) 13,739 24.10
ไทยรักไทย ทองคำ รอดพ่าย (7) 7,751 13.50
ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) ประเสริฐ สระครู (21) 7,082 12.43
ผลรวม 57,015 100.00
บัตรดี 57,015 80.77
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,247 3.18
บัตรเสีย 11,329 16.05
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 70,591 70.34
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 100,350 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 6

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 6 ประกอบด้วยอำเภอเนินมะปราง และอำเภอวังทอง (ยกเว้นตำบลวังพิกุล ตำบลแม่ระกา ตำบลหนองพระ และตำบลบ้านกลาง)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 6 จังหวัดพิษณุโลก
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ไทยรักไทย วีระ ปัทมสิริวัฒน์ (7)* 29,397 54.98
ประชาธิปัตย์ จุติ ไกรฤกษ์ (16)* 20,701 38.72
เสรีธรรม (พ.ศ. 2535) จิณณ์ ยศปัญญา (15) 1,414 2.64
ความหวังใหม่ รุ่งทรัพย์ รุ่งเกียรติยศ (5) 513 0.96
ราษฎร พงษ์ศักดิ์ ศิริสวัสดิ์ (13) 510 0.95
ชาติไทย ตวง ศิริเทพ (9) 495 0.93
ถิ่นไทย ศรีสุวรรณ จรรยา (11) 440 0.82
ผลรวม 53,470 100.00
บัตรดี 53,470 85.43
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,316 2.10
บัตรเสีย 7,803 12.47
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 62,589 63.01
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 99,337 100.00
ไทยรักไทย ได้ที่นั่งจาก ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง. "ข้อมูล สถิติ และผลการเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2544" (PDF). คลังสารสนเทศของสถาบันนิติบัญญัติ. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2020-06-04. สืบค้นเมื่อ 27 May 2020.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]