ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดนครสวรรค์ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดนครสวรรค์ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535

← พ.ศ. 2531 22 มีนาคม พ.ศ. 2535 กันยายน พ.ศ. 2535 →

7 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน674,944
ผู้ใช้สิทธิ49.54%
  First party Second party Third party
 
ผู้นำ ณรงค์ วงศ์วรรณ อุทัย พิมพ์ใจชน มนตรี พงษ์พานิช
พรรค สามัคคีธรรม เอกภาพ กิจสังคม
ที่นั่งก่อนหน้า พรรคใหม่ 4 0
ที่นั่งที่ชนะ 4 2 1
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น4 ลดลง2 เพิ่มขึ้น1

  Fourth party Fifth party
 
ผู้นำ สมบุญ ระหงษ์
พรรค ชาติไทย สหประชาธิปไตย
ที่นั่งก่อนหน้า 1 2
ที่นั่งที่ชนะ 0 0
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง1 ลดลง2

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

อานันท์ ปันยารชุน
อิสระ (คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ)

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

สุจินดา คราประยูร
อิสระ

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครสวรรค์ มีนาคม พ.ศ. 2535 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2535 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 3 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 7 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อ พ.ศ. 2531 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 1) และ 2 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 2 และ 3)[1]

ภาพรวม

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

[แก้]

เขต 1เขต 2เขต 3

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองนครสวรรค์, อำเภอพยุหะคีรี, อำเภอลาดยาว และ อำเภอโกรกพระ

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดนครสวรรค์
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
สามัคคีธรรม ภิญโญ นิโรจน์ (8) 74,722
เอกภาพ ประสิทธิ์ พิทูรกิจจา (1)* 69,329
สามัคคีธรรม วีระกร คำประกอบ (7)* 65,325
ความหวังใหม่ ธเนศ เตลาน (10)✔ 63,751
ความหวังใหม่ ประสาท ตันประเสริฐ (11)✔ 48,360
เอกภาพ นิโรธ สุนทรเลขา (2) 44,131
ชาติไทย สนอง รอดโพธิ์ทอง (4)* 20,644
พลังธรรม ธรรมนูญ ปิ่นวัฒนะ (13) 12,627
สามัคคีธรรม ราม ดูเบย์ (9) 10,007
พลังธรรม เมืองทอง บุตรพริ้ง (14) 9,433
พลังธรรม ประดิษฐ์ ศรีสินทร (15) 8,029
เอกภาพ สุเทพ ม่วงไหม (3) 6,392
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) อัศวิน ร่มรื่น (27) 4,937
ความหวังใหม่ กอบชัย ฉัตรมานพ (12) 1,987
ชาติไทย เสรีชัย เจริญมายุ (6) 1,557
รวมพลังใหม่ พอนประเสริฐ อาจมังกร (17) 997
ประชาธิปัตย์ สุชาดา แสงแก้ว (24) 954
ชาติไทย ภักดิ์ อินทรวงษ์ (5) 920
ประชาธิปัตย์ ปัทมา อักษร (23) 908
ประชาธิปัตย์ สิบเอก ขวัญชัย ไพรสิงห์ (22) 591
รวมพลังใหม่ บุญมา บัวแพ (18) 462
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ประดลเดช แก้วมณี (19) 455
รวมพลังใหม่ ประจิน คงสัมฤทธิ์ (16) 347
ราษฎร (พ.ศ. 2529) จรูญ เจตจำนงค์ (20) 272
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) เทพฤทธิ์ สาครวงศ์ (25) 264
ราษฎร (พ.ศ. 2529) วันชัย มนะสิการ (21) 263
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) ชูชีพ ร่มรื่น (26) 215
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
สามัคคีธรรม ได้ที่นั่งจาก ชาติไทย
เอกภาพ รักษาที่นั่ง
สามัคคีธรรม ได้ที่นั่งจาก เอกภาพ

เขตเลือกตั้งที่ 2

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอบรรพตพิสัย, อำเภอเก้าเลี้ยว, อำเภอชุมแสง และอำเภอท่าตะโก

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดนครสวรรค์
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
เอกภาพ บุญชู โรจนเสถียร (1)* 55,140
สามัคคีธรรม สวัสดิ์ คำประกอบ (9)* 38,743
เอกภาพ สัญชัย อินทรสูต (2) 23,698
ความหวังใหม่ สันตศิริ อินทรสูต (4) 7,334
สามัคคีธรรม ภานุวัฒน์ คำประกอบ (10) 2,071
ประชาธิปัตย์ ดวงกมล เกตุเดชา (12) 1,329
ประชาธิปัตย์ สุรเสฎฐ์ เกตุเดชา (11) 784
ราษฎร (พ.ศ. 2529) โสภณ แจ้งกระจ่าง (8) 682
ความหวังใหม่ บุญรอด จันทร์สนธิมา (3) 506
รวมพลังใหม่ อนุพันธ์ ประต่ายจันทร์ (6) 332
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ทวิช ประกอบวงศ์ (7) 314
รวมพลังใหม่ ณรงค์ บุญเกิด (5) 295
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
เอกภาพ รักษาที่นั่ง
สามัคคีธรรม ได้ที่นั่งจาก เอกภาพ

เขตเลือกตั้งที่ 3

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วยอำเภอหนองบัว, อำเภอไพศาลี, อำเภอตากฟ้า และอำเภอตาคลี

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 3 จังหวัดนครสวรรค์
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
กิจสังคม ธีระวัฒน์ ศิริวันสาณฑ์ (4) 41,321
สามัคคีธรรม วิจิตร แจ่มใส (7)* 39,975
กิจสังคม ประเทือง คำประกอบ (3)* 38,499
ความหวังใหม่ พันเอก สมเกียรติ ดิษยบุตร (12) 16,178
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) ชาญ สร้อยจำปา (2) 10,339
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) น้ำเชื่อม คงทิม (1) 4,921
สามัคคีธรรม อัษฎางค์ แช่มเดช (8) 4,043
ราษฎร (พ.ศ. 2529) จิตฤทัย พึ่งบุญ (10) 1,798
ประชาธิปัตย์ ชิงชัย วงศ์อุไร (13) 934
รวมพลังใหม่ สำเริง น้อยนารถ (5) 829
ความหวังใหม่ สิงขร สิงหะจูฑะ (11) 824
รวมพลังใหม่ สมคิด มะนาวหวาน (6) 744
ราษฎร (พ.ศ. 2529) มนตรี ไตรณรงค์ (9) 688
ประชาธิปัตย์ สามภพ วัดคำ (14) 532
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
กิจสังคม ได้ที่นั่งจาก สหประชาธิปไตย
สามัคคีธรรม ได้ที่นั่งจาก สหประชาธิปไตย

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. รายงานผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ๒๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๓๕. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2535