ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดนครปฐมในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดนครปฐมในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535

← พ.ศ. 2531 22 มีนาคม พ.ศ. 2535 กันยายน พ.ศ. 2535 →

4 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน415,206
ผู้ใช้สิทธิ65.75%
  First party Second party Third party
 
ผู้นำ สมบุญ ระหงษ์ ชวลิต ยงใจยุทธ ณรงค์ วงศ์วรรณ
พรรค ชาติไทย ความหวังใหม่ สามัคคีธรรม
ที่นั่งก่อนหน้า 2 พรรคใหม่ พรรคใหม่
ที่นั่งที่ชนะ 2 1 1
ที่นั่งเปลี่ยน Steady0 เพิ่มขึ้น1 เพิ่มขึ้น 1

  Fourth party
 
ผู้นำ บุญชู โรจนเสถียร
พรรค เอกภาพ
ที่นั่งก่อนหน้า 2
ที่นั่งที่ชนะ 0
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง 2

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

อานันท์ ปันยารชุน
อิสระ (คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ)

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

สุจินดา คราประยูร
อิสระ

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครปฐม มีนาคม พ.ศ. 2535 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2535 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 2 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 4 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อ พ.ศ. 2531 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 2 คน[1]

ภาพรวม

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

[แก้]

เขต 1เขต 2

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองนครปฐม และอำเภอกำแพงแสน

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดนครปฐม
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ชาติไทย ประสานต์ บุญมี (5)* 71,828
ความหวังใหม่ สราวุธ นิยมทรัพย์ (1)✔ 66,332
เอกภาพ ไชยยศ สะสมทรัพย์ (7)* 55,129
พลังธรรม พันตำรวจโท สมพงษ์ สำราญสุข (3) 20,370
พลังธรรม สาธิต ไทยทัตกุล (4) 13,539
ความหวังใหม่ เสน่ห์ แขกเมือง (2) 1,729
ชาติไทย สุนทร นุ่มสร้อย (6) 1,225
เอกภาพ สิงห์ ทวีพรปฐมกุล (8) 649
ราษฎร (พ.ศ. 2529) อ้อย สว่างสาย (10) 352
ราษฎร (พ.ศ. 2529) วิชาญ สว่างสาย (9) 205
รวมพลังใหม่ จุ๊ สามพ่วงบุญ (14) 90
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) ประดิษฐ เสือกลิ่น (12) 66
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) สมชัย แซ่ลี้ (11) 62
รวมพลังใหม่ วสันต์ อรุณสันติโรจน์ (13) 54
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ชาติไทย รักษาที่นั่ง
ความหวังใหม่ ได้ที่นั่งจาก เอกภาพ

เขตเลือกตั้งที่ 2

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอบางเลน, อำเภอดอนตูม, อำเภอนครชัยศรี, อำเภอสามพราน และกิ่งอำเภอพุทธมณฑล

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดนครปฐม
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
สามัคคีธรรม ระวัง เนตรโพธิ์แก้ว (4) 90,856
ชาติไทย ชาญชัย ปทุมารักษ์ (7)* 79,057
เอกภาพ เผดิมชัย สะสมทรัพย์ (5)* 51,459
สามัคคีธรรม เชื่อม เรืองรอง (3)✔ 12,708
ประชากรไทย ทองอินทร์ ศรีประชา (1) 3,365
ชาติไทย อภิรัฐ เปี่ยมคล้า (8) 1,929
เอกภาพ เกษมศักดิ์ ไชยสุวรรณ (6) 1,324
ประชากรไทย ร้อยโท วงศ์ มั่นเภา (2) 1,251
มวลชน วิบูลย์ รัตนรักษา (9) 1,143
รวมพลังใหม่ สมหวัง เรืองจุ้ย (18) 188
มวลชน วิชาญ รัตนรักษา (10) 171
ราษฎร (พ.ศ. 2529) สามารถ สว่างสาย (12) 171
รวมพลังใหม่ ธวัชชัย อนุรักษ์วันดี (17) 167
ราษฎร (พ.ศ. 2529) สมาน สว่างสาย (11) 162
สหประชาธิปไตย สุนีย์ บุตรเพียร (15) 131
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) หงษ์ทอง แสนประดิษฐ์ (14) 125
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) นันทนา แจ่มจำรัส (13) 119
สหประชาธิปไตย สุพิณ กรีกรน (16) 77
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
สามัคคีธรรม ได้ที่นั่งจาก เอกภาพ
ชาติไทย รักษาที่นั่ง

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. รายงานผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ๒๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๓๕. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2535