ข้ามไปเนื้อหา

ไทยลีก ฤดูกาล 2560

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก ไทยลีก 2560)
ไทยลีก
ฤดูกาล2560
ทีมชนะเลิศบุรีรัมย์ ยูไนเต็ด
ตกชั้นไทยฮอนด้า ลาดกระบัง
ศรีสะเกษ
ซุปเปอร์ พาวเวอร์ สมุทรปราการ
เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีกบุรีรัมย์ ยูไนเต็ด (รอบแบ่งกลุ่ม)
เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด (รอบคัดเลือกรอบ 2)
เชียงราย ยูไนเต็ด (รอบคัดเลือกรอบ 2)
จำนวนนัด306
จำนวนประตู1,037 (3.39 ประตูต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดมอนเตเนโกร ดราแกน บอสโควิช
(38 ประตู)
ทีมเหย้า
ชนะสูงสุด
เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด 9–1 ซุปเปอร์ พาวเวอร์
(30 กรกฎาคม 2560)
ทีมเยือน
ชนะสูงสุด
ซุปเปอร์ พาวเวอร์ สมุทรปราการ 0–7 บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด
(6 สิงหาคม 2560)
จำนวนประตูสูงสุดพัทยา ยูไนเต็ด 9–2 ซุปเปอร์ พาวเวอร์ สมุทรปราการ
(5 กรกฎาคม 2560)
ชนะติดต่อกัน
มากที่สุด
11 นัด
บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด
ไม่แพ้ติดต่อกัน
มากที่สุด
21 นัด
บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด
ไม่ชนะติดต่อกัน
มากที่สุด
29 นัด
ซุปเปอร์ พาวเวอร์ สมุทรปราการ
แพ้ติดต่อกัน
มากที่สุด
27 นัด
ซุปเปอร์ พาวเวอร์ สมุทรปราการ
จำนวนผู้ชมสูงสุด32,600 คน
บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด 2–0 เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด
(3 เมษายน 2560)
จำนวนผู้ชมต่ำสุด300 คน
ซุปเปอร์ พาวเวอร์ สมุทรปราการ 0–1 ไทยฮอนด้า ลาดกระบัง
(17 พฤษภาคม 2560)
จำนวนผู้ชมรวม1,399,728 คน
จำนวนผู้ชมเฉลี่ย4,604 คน
2559
2561

ไทยลีก 2560 (เป็นที่รู้จักกันในชื่อ โตโยต้า ไทยลีก ตามชื่อของผู้สนับสนุนหลัก) เป็นฤดูกาลที่ 21 ของการแข่งขันไทยลีกนับตั้งแต่ก่อตั้งมาในปี พ.ศ. 2539 ซึ่งในฤดูกาลนี้จะมีสโมสรเข้าร่วมการแข่งขันเป็น 18 สโมสร โดยจะเริ่มแข่งขันในวันที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560[1]

เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด เป็นแชมป์เก่าที่ต้องแข่งขันเพื่อป้องกันแชมป์ในปีนี้ โดยที่มีไทยฮอนด้า ลาดกระบัง, อุบล ยูเอ็มที ยูไนเต็ด และการท่าเรือ เป็น 3 สโมสรที่ได้เลื่อนชั้นจากไทยลีกดิวิชั่น 1 ขึ้นมาลงเล่นในฤดูกาลนี้

การปรับปรุงภาพลักษณ์

[แก้]

อัตลักษณ์

[แก้]

โลโก้ของไทยลีกนั้นถูกออกแบบขึ้นมาโดยใช้ตัวอักษร T ที่ย่อมาจาก Thailand เป็นสัญลักษณ์ผสมผสานกับรูปร่างที่ตัดทอนรายละเอียดมาจากช้างเผือก ซึ่งเป็นสัตว์ประจำชาติไทย ให้ออกมาดูเป็นเอกลักษณ์สากล บ่งบอกถึงความเป็นไทย และดูเรียบง่าย โดยจะใช้แบบเดียวกันในทุก ๆ ลีกแต่แบ่งระดับด้วยสีที่แตกต่างกันเพื่อให้ง่ายแก่การจดจำและเป็นเอกลักษณ์เฉพาะของไทยลีก ซึ่ง วรทิตย์ เครือวาณิชกิจ จากบริษัท ฟาร์มกรุ๊ป จำกัด ผู้ออกแบบโลโก้ได้เปิดเผยว่า สีที่ใช้แบ่งระดับไทยลีกแต่ละระดับมีที่มาจากอัญมณีจากแหวนนพรัตน์[2]

เงินสนับสนุน

[แก้]

สมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ มีโครงการสนับสนุนเงินพัฒนาสโมสรให้กับทีมต่างๆ ที่ต้องการนำไปต่อเติมก่อสร้างสิ่งอำนวยความสะดวก โดยเพิ่มเงินสนับสนุนทีมให้สโมสรในระดับไทยลีกจำนวน 5 ล้านบาท นอกเหนือจากงบสนับสนุนจากค่าลิขสิทธิ์ถ่ายทอดสดทีมละ 20 ล้านบาท โดยเริ่มตั้งแต่ฤดูกาล 2560

ทั้งนี้สโมสรที่ต้องการของบจากโครงการสนับสนุนเงินพัฒนาสโมสรจะต้องส่งใบเสนอราคาและแบบแผนการก่อสร้างเพื่อเป็นการยืนยัน ซึ่งทางสมาคมฯ เชื่อว่าโครงการนี้จะช่วยให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงด้านสิ่งอำนวยความสะดวกของแต่ละสโมสรได้อย่างเด่นชัดภายใน 1 ปี

สโมสร

[แก้]

สนามเหย้าและที่ตั้ง

[แก้]
หมายเหตุ: ตารางเรียงตามตัวอักษร
สโมสร จังหวัด สนาม ความจุ
การท่าเรือ กรุงเทพมหานคร แพตสเตเดียม 12,308
ชลบุรี ชลบุรี ชลบุรีสเตเดียม 8,500
ซุปเปอร์ พาวเวอร์ สมุทรปราการ สมุทรปราการ พาวเวอร์ สเตเดียม 5,000
แบงค็อก ยูไนเต็ด ปทุมธานี ทรู สเตเดียม 25,000
ไทยฮอนด้า ลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร สนามกีฬาเฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา 8,000
นครราชสีมา มาสด้า นครราชสีมา สนามเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 25,000
บางกอกกล๊าส ปทุมธานี ลีโอสเตเดียม 13,000
บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด บุรีรัมย์ นิวไอโมบายสเตเดียม 32,600
บีอีซี เทโรศาสน กรุงเทพมหานคร โปลิศ สเตเดียม 5,000
พัทยา ยูไนเต็ด ชลบุรี ดอลฟินสเตเดียม 5,000
ราชนาวี ชลบุรี สนามกีฬาราชนาวี สัตหีบ 5,000
ราชบุรี มิตรผล ราชบุรี มิตรผลสเตเดียม 10,000
ศรีสะเกษ ศรีสะเกษ สนามศรีนครลำดวน 10,000
เชียงราย ยูไนเต็ด เชียงราย สิงห์ สเตเดียม 12,000
สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สนามกีฬากลางจังหวัดสุพรรณบุรี 25,000
สุโขทัย สุโขทัย ทะเลหลวงสเตเดียม 8,000
อุบล ยูเอ็มที ยูไนเต็ด อุบลราชธานี ยูเอ็มที สเตเดียม 6,000
เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด นนทบุรี เอสซีจีสเตเดียม 15,000

การเปลี่ยนชื่อ

[แก้]

การเปลี่ยนสนาม

[แก้]

ข้อมูลสโมสรและผู้สนับสนุน

[แก้]

หมายเหตุ: ธงชาติที่ระบุทีมชาตินั้นเป็นไปตามกฎข้อบังคับของฟีฟ่า ผู้เล่นสามารถถือสัญชาติที่ไม่เป็นไปตามฟีฟ่าได้มากกว่าหนึ่งสัญชาติ

สโมสร หัวหน้าผู้ฝึกสอน กัปตันทีม ผู้ผลิตชุด ผู้สนับสนุนหลัก
การท่าเรือ ไทย จเด็จ มีลาภ สเปน โรเชลา, ดาบิดดาบิด โรเชลา แกรนด์ สปอร์ต เมืองไทย
ชลบุรี ไทย ใจมั่น, เทิดศักดิ์เทิดศักดิ์ ใจมั่น ไทย อ่อนโม้, พิภพพิภพ อ่อนโม้ ไนกี้ ช้าง
เชียงราย ยูไนเต็ด บราซิล กามา, อาเลชังดรีอาเลชังดรี กามา ไทย ประกอบของ, กฤษฏีกฤษฏี ประกอบของ ผลิตจากสโมสร สิงห์ปาร์ค เชียงราย
ซุปเปอร์ พาวเวอร์ สมุทรปราการ ไทย สุขสันต์ คุณสุทธิ์ ไทย เจิมดี, ศักดาศักดา เจิมดี เอฟบีที โลโซ-ดี
ไทยฮอนด้า ลาดกระบัง ไทย อัคถภรณ์ ชลิตาภรณ์ ไทย มหาวงศ์, วัชระวัชระ มหาวงศ์ คีล่า ฮอนด้า
นครราชสีมา มาสด้า เซอร์เบีย ยอกซิช, มีลอชมีลอช ยอกซิช ไทย เกิดแก้ว, เฉลิมพงษ์เฉลิมพงษ์ เกิดแก้ว ผลิตจากสโมสร มาสด้า
บางกอกกล๊าส ไทย สุรชัย จตุรภัทรพงษ์ ออสเตรเลีย สมิธ, แมตต์แมตต์ สมิธ ไนกี้ ลีโอเบียร์
บีอีซี เทโรศาสน อังกฤษ มัลวีย์, ไมค์ไมค์ มัลวีย์ ไทย ทองเหลา, ดัสกรดัสกร ทองเหลา เอฟบีที เอฟบี แบตเตอรี
บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด เซอร์เบีย บันโดวิช, โบซีดาร์โบซีดาร์ บันโดวิช ไทย นุชนุ่ม, สุเชาว์สุเชาว์ นุชนุ่ม ผลิตจากสโมสร ช้าง
แบงค็อก ยูไนเต็ด บราซิล ปอลกิง, อาเลชังดรีอาเลชังดรี ปอลกิง ไทย หมัดหลำ, วิทยาวิทยา หมัดหลำ อาริ ทรู
พัทยา ยูไนเต็ด ไทย คงเทพ, สุรพงษ์สุรพงษ์ คงเทพ ไทย ศรีใส, ธนะศักดิ์ธนะศักดิ์ ศรีใส อาริ ซันวา
ราชนาวี ไทย ชวยบุญชุม, สมชายสมชาย ชวยบุญชุม ไทย พันธุ์ฤทธิ์, ณัฐพรณัฐพร พันธุ์ฤทธิ์ วอริกซ์ เอชอาร์-โปร
ราชบุรี มิตรผล สเปน , ปาเชตาปาเชตา บราซิล ซังตุส, การ์ลุสการ์ลุส ซังตุส อาริ มิตรผล
ศรีสะเกษ ไทย เฉลิมวุฒิ สง่าพล ไทย จันดากรณ์, เอกพันธ์เอกพันธ์ จันดากรณ์ อาริ เมืองไทย
สุพรรณบุรี ไนจีเรีย อเดบาโย กาเดโบ

(รักษาการ)

ไทย วิวัฒน์ชัยโชค, รังสรรค์รังสรรค์ วิวัฒน์ชัยโชค วอริกซ์ ช้าง
สุโขทัย ไทย บวรวัฒนดิลก, ไพโรจน์ไพโรจน์ บวรวัฒนดิลก ไทย ศรีละคร, ยุทธพงษ์ยุทธพงษ์ ศรีละคร อินฟินิท ช้าง
อุบล ยูเอ็มที ยูไนเต็ด อังกฤษ คูเปอร์, สก็อตต์สก็อตต์ คูเปอร์ บราซิล การ์ดูซู, วิกตูร์วิกตูร์ การ์ดูซู ยูเรก้า ยูเอ็มที
เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด ไทย ศรีปาน, ธชตวันธชตวัน ศรีปาน ไทย แดงดา, ธีรศิลป์ธีรศิลป์ แดงดา แกรนด์ สปอร์ต เอสซีจี

การเปลี่ยนแปลงผู้จัดการทีม

[แก้]
สโมสร ผู้จัดการทีมที่ออก สาเหตุที่ออก วันที่ออก อันดับในตารางคะแนน ผู้จัดการทีมที่เข้าแทน วันที่เข้า
เชียงราย ยูไนเต็ด ไทย ธีระศักดิ์ โพธิ์อ้น ถูกไล่ออก 23 ตุลาคม 2559[3] ก่อนเปิดฤดูกาล บราซิล อาเลชังดรี กามา 20 ธันวาคม 2559[4]
ศรีสะเกษ ญี่ปุ่น มะซะฮิโระ วะดะ หมดสัญญา 27 ตุลาคม 2559[5] ไทย ดุสิต เฉลิมแสน 27 ตุลาคม 2559[5]
ราชนาวี บราซิล สเตฟาโน คูกูรา ถูกไล่ออก 3 พฤศจิกายน 2559[6] ไทย สมชาย ชวยบุญชุม 3 พฤศจิกายน 2559[6]
ซุปเปอร์ พาวเวอร์ สมุทรปราการ ไทย ไพโรจน์ บวรวัฒนดิลก หมดสัญญา 31 ธันวาคม 2559 ไทย เฉลิมวุฒิ สง่าพล 28 ธันวาคม 2559[7]
พัทยา ยูไนเต็ด เกาหลีใต้ คิม ฮัก-ชุล 20 ธันวาคม 2559 ไทย สุรพงษ์ คงเทพ 6 มกราคม 2560[8]
บีอีซี เทโรศาสน ไทย สุรพงษ์ คงเทพ 20 ธันวาคม 2559 ไทย อุทัย บุญเหมาะ 2 กุมภาพันธ์ 2560[9]
ศรีสะเกษ ไทย ดุสิต เฉลิมแสน ถูกไล่ออก 2 มีนาคม 2560[10] อันดับที่ 18 บัลแกเรีย เวลิซาร์ โปปอฟ 15 มีนาคม 2560[11]
ซุปเปอร์ พาวเวอร์ สมุทรปราการ ไทย เฉลิมวุฒิ สง่าพล ลาออก 9 มีนาคม 2560[12] อันดับที่ 18 อังกฤษ เจสัน วิธ 9 มีนาคม 2560[13]
สุโขทัย ไทย สมชาย มากมูล ถูกไล่ออก 10 มีนาคม 2560[14] อันดับที่ 16 ไทย ไพโรจน์ บวรวัฒนดิลก 12 มีนาคม 2560[15]
สุพรรณบุรี บราซิล เซร์ชีอู ฟารีอัส 16 เมษายน 2560 อันดับที่ 14 ไทย วรวุฒิ ศรีมะฆะ
ไทยฮอนด้า ลาดกระบัง ไทย ศิริศักดิ์ ยอดญาติไทย 30 เมษายน 2560 อันดับที่ 15 บราซิล เลอูนาร์ดู ไนวา 1 พฤษภาคม 2560
ซุปเปอร์ พาวเวอร์ สมุทรปราการ อังกฤษ เจสัน วิธ ลาออก 1 มิถุนายน 2560[16] อันดับที่ 18 ไทย อภิสิทธิ์ ไข่แก้ว 1 มิถุนายน 2560
บีอีซี เทโรศาสน ไทย อุทัย บุญเหมาะ 3 มิถุนายน 2560 อันดับที่ 10 อังกฤษ ไมค์ มัลวีย์ 5 มิถุนายน 2560 [17]
บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด เซอร์เบีย รันกอ ปอปอวิช 13 มิถุนายน 2560 อันดับที่ 1 เซอร์เบีย โบซีดาร์ บันโดวิช 13 มิถุนายน 2560
การท่าเรือ ไทย จเด็จ มีลาภ ได้รับความยินยอมร่วมกัน 22 มิถุนายน 2560 อันดับที่ 9 ไทย เกียรติศักดิ์ เสนาเมือง 23 มิถุนายน 2560 [18]
บางกอกกล๊าส ออสเตรเลีย ออเรลิโอ วิดมาร์ 10 กรกฎาคม 2560 อันดับที่ 5 ไทย สุรชัย จตุรภัทรพงษ์ 10 กรกฎาคม 2560
ไทยฮอนด้า ลาดกระบัง บราซิล เลอูนาร์ดู ไนวา ถูกไล่ออก 28 กรกฎาคม 2560 อันดับที่ 17 ไทย อัคถภรณ์ ชลิตาภรณ์ 28 กรกฎาคม 2560
ศรีสะเกษ บัลแกเรีย เวลิซาร์ โปปอฟ ลาออก 1 สิงหาคม 2560 อันดับที่ 16 ไทย เฉลิมวุฒิ สง่าพล 4 ตุลาคม 2560
ซุปเปอร์ พาวเวอร์ สมุทรปราการ ไทย อภิสิทธิ์ ไข่แก้ว ถูกไล่ออก 12 กันยายน 2560 อันดับที่ 18 ไทย สุขสันต์ คุณสุทธิ์ 12 กันยายน 2560
การท่าเรือ ไทย เกียรติศักดิ์ เสนาเมือง ลาออก 20 กันยายน 2560 อันดับที่ 11 ไทย จเด็จ มีลาภ 20 กันยายน 2560

ตารางคะแนน

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบหรือการตกชั้น
1 บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด 34 27 5 2 85 22 +63 86 เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2018 รอบแบ่งกลุ่ม
2 เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด 34 22 6 6 79 29 +50 72 เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2018 รอบคัดเลือกรอบที่ 2
3 แบงค็อก ยูไนเต็ด 34 21 3 10 97 57 +40 66
4 เชียงราย ยูไนเต็ด 34 18 6 10 67 42 +25 60 เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2018 รอบคัดเลือกรอบที่ 2
5 บางกอกกล๊าส 34 16 8 10 63 44 +19 56
6 ราชบุรี มิตรผล 34 16 7 11 63 49 +14 55
7 ชลบุรี 34 15 8 11 59 59 0 53
8 พัทยา ยูไนเต็ด 34 15 6 13 60 53 +7 51
9 การท่าเรือ 34 14 8 12 60 63 −3 50
10 อุบล ยูเอ็มที ยูไนเต็ด 34 12 11 11 55 54 +1 47
11 สุพรรณบุรี 34 11 10 13 52 58 −6 43
12 นครราชสีมา มาสด้า 34 10 11 13 42 48 −6 41
13 ราชนาวี 34 10 10 14 42 50 −8 40
14 บีอีซี เทโรศาสน 34 10 9 15 42 57 −15 39
15 สุโขทัย 34 8 12 14 52 66 −14 36
16 ไทยฮอนด้า ลาดกระบัง 34 8 4 22 43 68 −25 28 ตกชั้นสู่ ไทยลีก 2 ฤดูกาล 2561
17 ศรีสะเกษ 34 6 5 23 43 90 −47 23
18 ซุปเปอร์ พาวเวอร์ สมุทรปราการ 34 1 3 30 31 128 −97 6
แหล่งข้อมูล: ไทยลีก
กฏการจัดอันดับ: 1) คะแนน; 2) เฮดทูเฮด; 3) ผลต่างประตูได้เสีย; 4) ประตูได้


ผลการแข่งขัน

[แก้]
เหย้า \ เยือน1 BKG BKU BRU CRU CHO MTU NAK PTU POT POR RAT NAV SSK SUK SPSP SUP THL UBO
บางกอกกล๊าส 3–2 2–1 2–1 3–0 0–4 1–0 3–0 2–5 4–0 0–0 3–2 6–0 2–2 8–0 2–1 0–1 1–0
ทรูแบงค็อก ยูไนเต็ด 5–4 1–3 0–3 7–2 2–4 2–0 5–1 5–2 6–2 2–1 1–0 5–1 4–2 4–0 4–0 5–4 3–2
บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด 1–0 2–1 1–0 2–2 2–0 4–0 2–0 4–0 1–0 3–4 2–0 3–0 5–2 3–0 3–0 2–0 4–0
เชียงราย ยูไนเต็ด 3–0 0–2 1–2 3–1 0–1 1–0 4–1 1–1 1–3 4–0 3–2 3–1 6–0 4–0 2–0 3–1 1–1
ชลบุรี 1–1 1–5 1–2 3–1 0–3 0–0 1–0 5–1 2–1 2–0 0–0 1–0 3–2 3–1 1–1 5–0 1–1
เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด 2–0 4–0 1–1 4–2 3–1 2–0 0–0 2–1 2–3 3–0 4–0 3–0 1–0 9–1 3–0 0–1 2–3
นครราชสีมา มาสด้า 2–1 0–0 0–2 0–1 5–2 0–1 2–2 1–1 0–0 1–1 1–1 3–0 1–1 4–0 2–2 1–0 2–1
พัทยา ยูไนเต็ด 4–2 1–0 0–2 2–2 2–1 0–3 3–1 3–0 2–5 3–0 2–3 2–1 1–1 9–2 1–3 1–0 0–1
โปลิศ เทโร 1–2 2–0 2–2 3–1 1–3 0–1 3–1 2–0 2–1 0–0 0–0 1–0 1–1 3–1 2–2 3–2 2–1
การท่าเรือ 0–3 0–3 0–0 1–2 1–3 1–1 3–1 0–2 2–1 1–1 1–0 5–3 3–3 5–3 3–2 3–1 1–0
ราชบุรี มิตรผล 1–0 1–2 0–2 1–1 5–1 1–1 4–0 1–0 1–0 2–3 2–1 5–2 1–1 6–2 4–1 3–2 1–0
ราชนาวี 2–3 2–1 1–2 2–0 2–2 1–2 0–0 2–2 0–0 2–2 1–0 1–0 3–1 3–1 0–1 1–0 3–2
ศรีสะเกษ 0–0 2–7 1–5 1–2 1–2 2–2 3–3 0–2 2–1 2–2 0–3 4–2 3–1 1–0 2–2 2–5 0–2
สุโขทัย 1–1 1–4 1–3 2–2 3–1 2–2 0–1 2–0 2–0 2–3 0–3 1–1 2–1 5–1 2–3 1–0 3–3
ซุปเปอร์ พาวเวอร์ สมุทรปราการ 0–0 2–5 0–7 2–2 1–4 1–4 0–5 1–3 1–2 1–3 1–5 3–2 1–3 0–4 1–3 0–1 0–1
สุพรรณบุรี 1–1 1–1 0–1 1–2 0–1 1–4 4–0 0–3 3–2 2–0 1–1 2–0 4–1 1–1 3–1 2–1 1–2
ไทยฮอนด้า 0–2 1–0 1–5 0–3 1–3 1–0 1–2 0–0 2–1 5–1 1–2 0–2 2–3 0–1 2–2 2–2 4–4
อุบล ยูเอ็มที ยูไนเต็ด 1–1 3–3 1–1 1–2 0–0 2–1 1–3 2–3 1–1 2–1 4–1 2–2 2–1 2–1 2–1 2–2 3–1

อัปเดตล่าสุดวันที่ 18 พฤศจิกายน 2560
แหล่งข้อมูล: [ต้องการอ้างอิง]
1คอลัมน์ด้านซ้ายมือหมายถึงทีมเหย้า
สี: ฟ้า = ทีมเหย้าชนะ; เหลือง = เสมอ; แดง = ทีมเยือนชนะ
สำหรับแมตช์ที่กำลังมาถึง อักษร a หมายถึง มีบทความเกี่ยวกับแมตช์นั้น

สถิติประจำฤดูกาล

[แก้]

ผู้ทำประตูสูงสุด

[แก้]
ณ วันที่ 18 พฤศจิกายน 2560
ดราแกน บอสโควิช ทำประตูมากสุดที่ 38 ลูก นับเป็นสถิติการทำประตูที่มากที่สุดต่อหนึ่งฤดูกาลในไทยลีก
อันดับ ผู้เล่น สโมสร ประตู
1 มอนเตเนโกร ดราแกน บอสโควิช แบงค็อก ยูไนเต็ด 38
2 บราซิล ชาชา กูเอลญู บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด 34
3 บราซิล เรนัน มาร์เกวซ ชลบุรี 27
4 บราซิล จีโอกู บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด 26
5 บราซิล ลีอังดรู อัสซัมเซา ศรีสะเกษ (11) / เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด (13) 24
6 แคเมอรูน มาร์แซล แอ็สซงเบ ราชบุรี มิตรผล 20
7 บราซิล ฟีลีปี อาเซเวดู เชียงราย ยูไนเต็ด 18
8 มาซิโดเนียเหนือ มารีโอ ยูโรฟสกี แบงค็อก ยูไนเต็ด 17
9 เซอร์เบีย มีลอส สตอยานอวิช พัทยา ยูไนเต็ด 15
บราซิล โรดรีกู แวร์จีลีอู ราชนาวี
ไทย ธีรศิลป์ แดงดา เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด

การผ่านบอลทำประตู

[แก้]
ณ วันที่ 28 มิถุนายน 2560
ธีราทร บุญมาทัน จ่ายบอลมากสุดที่ 12 ครั้ง
อันดับ ผู้เล่น สโมสร การผ่านบอลทำประตู
1 ไทย ธีราทร บุญมาทัน เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด 12
2 มาดากัสการ์ จอห์น บักจีโอ สุโขทัย 9
บราซิล ชาชา กูเอลญู บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด
อาร์เจนตินา มาเรียโน เบร์ริกซ์ อุบล ยูเอ็มที ยูไนเต็ด (8) / ศรีสะเกษ (1)
บราซิล จีโอกู บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด
6 ไทย สรรวัชญ์ เดชมิตร แบงค็อก ยูไนเต็ด 7
บราซิล ชิลเบร์ตู มาเชนา แบงค็อก ยูไนเต็ด

แฮตทริก

[แก้]
นักเตะ สโมสร ทำได้นัดที่พบ ผล นาที วันที่
ไทย ฐิติพันธ์ พ่วงจันทร์ เชียงราย ยูไนเต็ด ซุปเปอร์ พาวเวอร์ สมุทรปราการ 4–0 เก็บถาวร 2018-01-22 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน ประตู 23', ประตู 53', ประตู 81' 12 กุมภาพันธ์ 2560
ไทย ธีรเทพ วิโนทัย4 แบงค็อก ยูไนเต็ด การท่าเรือ 6–2 เก็บถาวร 2018-01-22 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน ประตู 21' (ลูกโทษ), ประตู 27' (ลูกโทษ), ประตู 62', ประตู 87' 25 กุมภาพันธ์ 2560
ไทย สุภโชค สารชาติ บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด ไทยฮอนด้า ลาดกระบัง 5–1 ประตู 50', ประตู 57', ประตู 90+4' 4 มีนาคม 2560
มอนเตเนโกร ดราแกน บอสโควิช แบงค็อก ยูไนเต็ด อุบล ยูเอ็มที ยูไนเต็ด 3–3 ประตู 18' (ลูกโทษ), ประตู 66', ประตู 90+2' (ลูกโทษ) 5 มีนาคม 2560
บราซิล ลีอังดรู อัสซัมเซา ศรีสะเกษ นครราชสีมา มาสด้า 3–3 ประตู 26', ประตู 45+2', ประตู 87' 8 เมษายน 2560
สเปน ชิสโก เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด ซุปเปอร์ พาวเวอร์ สมุทรปราการ 4–1 ประตู 17', ประตู 77' (ลูกโทษ), ประตู 85' 8 เมษายน 2560
มอนเตเนโกร ดราแกน บอสโควิช แบงค็อก ยูไนเต็ด ชลบุรี 5–1 เก็บถาวร 2018-01-22 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน ประตู 59', ประตู 75', ประตู 76' 18 เมษายน 2560
มอนเตเนโกร ดราแกน บอสโควิช5 แบงค็อก ยูไนเต็ด พัทยา ยูไนเต็ด 5–1 เก็บถาวร 2018-01-22 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน ประตู 19', ประตู 22' (ลูกโทษ), ประตู 43', ประตู 77', ประตู 90+3' 23 เมษายน 2560
แคเมอรูน มาร์แซล แอ็สซงเบ ราชบุรี มิตรผล ซุปเปอร์ พาวเวอร์ สมุทรปราการ 5–1 ประตู 48', ประตู 54', ประตู 72' 30 เมษายน 2560
มาซิโดเนียเหนือ มารีโอ ยูโรฟสกี แบงค็อก ยูไนเต็ด ซุปเปอร์ พาวเวอร์ สมุทรปราการ 5–2 เก็บถาวร 2018-01-22 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน ประตู 12', ประตู 28', ประตู 32' 6 พฤษภาคม 2560
บราซิล จีโอกู บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด สุโขทัย 3–1 ประตู 76' (ลูกโทษ), ประตู 84' (ลูกโทษ), ประตู 90+5' 13 พฤษภาคม 2560
บราซิล โรดรีกู แวร์จีลีอู ราชนาวี ซุปเปอร์ พาวเวอร์ สมุทรปราการ 3–1 ประตู 8', ประตู 59' (ลูกโทษ), ประตู 89' 14 พฤษภาคม 2560
บราซิล ราฟาเอล กูเอลญู เชียงราย ยูไนเต็ด พัทยา ยูไนเต็ด 4–1 เก็บถาวร 2018-12-15 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน ประตู 48', ประตู 65', ประตู 79' 17 พฤษภาคม 2560
บราซิล ลีอังดรู อัสซัมเซา ศรีสะเกษ ราชนาวี 4–2 ประตู 17', ประตู 41', ประตู 82' 17 พฤษภาคม 2560
บราซิล ลีอังดรู อัสซัมเซา ศรีสะเกษ ไทยฮอนด้า ลาดกระบัง 3–2 เก็บถาวร 2018-01-22 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน ประตู 29', ประตู 55', ประตู 90+1' 20 พฤษภาคม 2560
ไทย ชาตรี ฉิมทะเล บางกอกกล๊าส ซุปเปอร์ พาวเวอร์ สมุทรปราการ 8–0 เก็บถาวร 2018-01-22 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน ประตู 21', ประตู 67', ประตู 74' 17 มิถุนายน 2560
ไทย สุรชาติ สารีพิมพ์ บางกอกกล๊าส แบงค็อก ยูไนเต็ด 4–5 เก็บถาวร 2018-01-22 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน ประตู 43', ประตู 53', ประตู 59' 5 กรกฎาคม 2560
มอนเตเนโกร ดราแกน บอสโควิช แบงค็อก ยูไนเต็ด บางกอกกล๊าส 5–4 เก็บถาวร 2018-01-22 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน ประตู 22' (ลูกโทษ), ประตู 67' (ลูกโทษ), ประตู 90+4' 5 กรกฎาคม 2560
บราซิล เปาลู รังเฌล นครราชสีมา มาสด้า ซุปเปอร์ พาวเวอร์ สมุทรปราการ 5–0 ประตู 4', ประตู 42', ประตู 47' 8 กรกฎาคม 2560
แคเมอรูน มาร์แซล แอ็สซงเบ ราชบุรี มิตรผล ชลบุรี 5–1 เก็บถาวร 2018-01-22 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน ประตู 3', ประตู 35' (ลูกโทษ), ประตู 85' 8 กรกฎาคม 2560
บราซิล ฌาฌา กูเอลญู บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด อุบล ยูเอ็มที ยูไนเต็ด 4–0 เก็บถาวร 2018-01-22 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน ประตู 5', ประตู 40', ประตู 90+2' 29 กรกฎาคม 2560
บราซิล ลีอังดรู อัสซัมเซา เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด ซุปเปอร์ พาวเวอร์ สมุทรปราการ 9–1 ประตู 20', ประตู 63', ประตู 65' 30 กรกฎาคม 2560
มอนเตเนโกร ดราแกน บอสโควิช4 แบงค็อก ยูไนเต็ด ชลบุรี 7–2 เก็บถาวร 2018-01-22 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน ประตู 25' (ลูกโทษ), ประตู 35', ประตู 45', ประตู 72' 5 สิงหาคม 2560
บราซิล ฌาฌา กูเอลญู4 บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด ซุปเปอร์ พาวเวอร์ สมุทรปราการ 7–0 เก็บถาวร 2018-01-22 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน ประตู 44', ประตู 52', ประตู 65', ประตู 90+3' 6 สิงหาคม 2560
บราซิล ฌาฌา กูเอลญู บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด ศรีสะเกษ 5–1 ประตู 17', ประตู 28', ประตู 45+1' 16 กันยายน 2560
ไทย คัพฟ้า บุญมาตุ่น สุโขทัย อุบล ยูเอ็มที ยูไนเต็ด 3–3 ประตู 4', ประตู 54', ประตู 62' 16 กันยายน 2560
บราซิล ฌันด์ซง เชียงราย ยูไนเต็ด สุโขทัย 6–0 เก็บถาวร 2018-12-16 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน ประตู 22', ประตู 52', ประตู 88' 20 กันยายน 2560
บราซิล เอเบร์ชี เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด แบงค็อก ยูไนเต็ด 4–0 เก็บถาวร 2018-01-22 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน ประตู 49', ประตู 85', ประตู 90+1' 20 กันยายน 2560
มอนเตเนโกร ดราแกน บอสโควิช แบงค็อก ยูไนเต็ด ศรีสะเกษ 7–2 เก็บถาวร 2018-01-22 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน ประตู 22', ประตู 62', ประตู 79' 14 ตุลาคม 2560
บราซิล ฌาฌา กูเอลญู บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด สุโขทัย 5–2 เก็บถาวร 2018-12-16 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน ประตู 49', ประตู 52', ประตู 57' 14 ตุลาคม 2560
บราซิล รีการ์ดู เฌซุส4 ไทยฮอนด้า ลาดกระบัง ศรีสะเกษ 5–2 เก็บถาวร 2018-01-22 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน ประตู 28', ประตู 63', ประตู 77', ประตู 90' 8 พฤศจิกายน 2560

คลีนชีตส์

[แก้]
ณ วันที่ 11 พฤศจิกายน 2560
ศิวรักษ์ เทศสูงเนิน เก็บคลีนชีตส์มากสุดที่ 19 ครั้ง
อันดับ ผู้เล่น สโมสร คลีนชีตส์ (นัด)
1 ไทย ศิวรักษ์ เทศสูงเนิน บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด 19
2 ไทย กวินทร์ ธรรมสัจจานันท์ เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด 12
3 ไทย ชนินทร์ แซ่เอียะ ชลบุรี 8
ไทย อุกฤษณ์ วงศ์มีมา ราชบุรี มิตรผล
5 ไทย ภัทร ปิยภัทร์กิติ เชียงราย ยูไนเต็ด 7
ไทย สรานนท์ อนุอินทร์ นครราชสีมา มาสด้า
7 ไทย กัมพล ปฐมอรรฆย์กุล บีอีซี เทโรศาสน 6
ไทย นริศ ทวีกุล บางกอกกล๊าส
ไทย พิศาล ดอกไม้แก้ว บางกอกกล๊าส
10 ไทย ไพโรจน์ เอี่ยมมาก สุโขทัย 5
ไทย อินทรัตน์ อภิญญากุล ราชนาวี

ระเบียบวินัย

[แก้]
ณ วันที่ 12 มีนาคม 2560

ผู้เล่น

[แก้]
  • ใบเหลืองมากที่สุด: 1 ใบ
  • ใบแดงมากที่สุด: 1 ใบ

สโมสร

[แก้]

จำนวนผู้ชม

[แก้]
อันดับ ทีม รวม สูงสุด ต่ำสุด เฉลี่ย เปลี่ยนแปลง
1 บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด 236,137 32,600 8,316 13,890 −10.7%
2 เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด 140,929 12,500 3,730 8,808 −9.9%
3 สุพรรณบุรี 129,316 17,559 1,928 7,606 −15.3%
4 เชียงราย ยูไนเต็ด 111,182 11,354 1,574 6,540 +20.9%
5 นครราชสีมา มาสด้า 95,421 12,250 1,583 5,613 −51.3%
6 บางกอกกล๊าส 90,171 12,278 2,025 5,304 −11.5%
7 สุโขทัย 73,007 7,780 2,481 4,294 −24.7%
8 การท่าเรือ 67,361 6,905 1,229 4,210 +38.4%
9 ราชบุรี มิตรผล 62,577 9,999 1,459 3,681 −16.4%
10 ชลบุรี 59,972 8,469 2,130 3,527 −29.8%
11 พัทยา ยูไนเต็ด 59,817 5,838 1,380 3,518 +21.5%
12 อุบล ยูเอ็มที ยูไนเต็ด 54,719 5,845 640 3,218 +69.6%
13 ทรูแบงค็อก ยูไนเต็ด 48,540 9,539 819 2,855 −14.0%
14 ศรีสะเกษ 46,364 8,565 627 2,727 −43.4%
15 ราชนาวี 42,846 4,762 1,717 2,520 −18.2%
16 บีอีซี เทโรศาสน 30,876 3,517 1,070 1,816 −7.1%
17 ไทยฮอนด้า 25,936 5,565 560 1,525 +147.6%
18 ซุปเปอร์ พาวเวอร์ สมุทรปราการ 24,557 5,059 300 1,444 −37.5%
รวม 1,399,728 32,600 300 4,604 −15.2%

ปรับปรุงล่าสุดในนัดการแข่งขันเมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน 2560
แหล่งข้อมูล: Thai League
หมายเหตุ:'
1: สโมสรที่ลงเล่นในดิวิชัน 1 เมื่อฤดูกาลก่อน

อ้างอิง

[แก้]
  1. "ไทยลีก 2017 ได้ฤกษ์เปิดสนาม 11 ก.พ.นี้ เตรียมยกเลิกโปรแกรมมิดวีก". SMM SPORT. 2 พฤศจิกายน 2559. สืบค้นเมื่อ 2 พฤศจิกายน 2559. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)[ลิงก์เสีย]
  2. "วรทิตย์ เครือวาณิชกิจ: เมื่อ ช้าง+อัญมณี เนรมิตรโลโก้ใหม่ฟุตบอลลีกไทย". Football Channel Thailand. 16 ธันวาคม 2559. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-12-21. สืบค้นเมื่อ 2 กุมภาพันธ์ 2560. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  3. "ธีระศักดิ์ โพธิ์อ้น : 6 ปีมหัศจรรย์ที่เชียงรายฯ จะอยู่กับผมตลอดไป". Goal Thailand. 23 ตุลาคม 2559. สืบค้นเมื่อ 2 กุมภาพันธ์ 2560. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  4. "OFFICIAL : เชียงรายเปิดตัว "กาม่า" คุมทัพซ้อมปรีซีซั่นทันที". Goal Thailand. 20 ธันวาคม 2559. สืบค้นเมื่อ 2 กุมภาพันธ์ 2560. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  5. 5.0 5.1 "วาดะไม่ได้ไปต่อ! กูปรี ตั้ง 'โค้ชโอ่ง' ลุยไทยลีกปีหน้า". SMM SPORT. 27 ตุลาคม 2559. สืบค้นเมื่อ 29 ตุลาคม 2559. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)[ลิงก์เสีย]
  6. 6.0 6.1 "ราชนาวีควัก 3.5 ล้านยกเลิกสัญญาเตโก้ เซ็นน้าฉ่วยกุนซือใหม่". SMM SPORT. 3 พฤศจิกายน 2559. สืบค้นเมื่อ 4 พฤศจิกายน 2559. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)[ลิงก์เสีย]
  7. "ซูปเปอร์พาวเวอร์ ตั้ง 'โค้ชหนุ่ย' คัมแบ็กคุมทีมรอบสอง". SMM SPORT. 28 ธันวาคม 2559. สืบค้นเมื่อ 30 ธันวาคม 2559. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)[ลิงก์เสีย]
  8. "OFFICIAL : พัทยาเปิดตัวทีมงานใหม่, พร้อมเก็บตัวฝึกซ้อมปรีซีซั่น 2017". ไทยลีก. 6 มกราคม 2560. สืบค้นเมื่อ 2 กุมภาพันธ์ 2560. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)[ลิงก์เสีย]
  9. "โปลิศเทโร! มังกรไฟ เปิดตัวสู่ยุคใหม่ ตั้ง จักรทิพย์นั่งแท่นปธ.สโมสร". fourfourtwo.com. 2 กุมภาพันธ์ 2560. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-02-04. สืบค้นเมื่อ 2 กุมภาพันธ์ 2560. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  10. "รายแรกของปี! ศรีสะเกษแยกทาง "โค้ชโอ่ง"". Goal Thailand. 2 มีนาคม 2560. สืบค้นเมื่อ 2 มีนาคม 2560. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  11. "ศรีสะเกษ เอฟซีตั้งเวลิซาร์ โปปอฟนั่งกุนซือคนใหม่". สยามกีฬารายวัน. 15 มีนาคม 2560. สืบค้นเมื่อ 4 เมษายน 2560. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  12. "ซุปเปอร์เปลี่ยนแปลง!'เจสัน วิธ'คุมทัพหลัง'เฉลิมวุฒิ'ขอวางมือ". Goal Thailand. 9 มีนาคม 2560. สืบค้นเมื่อ 11 มีนาคม 2560. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  13. "รายที่ 2 "พาวเวอร์" เด้ง "โค้ชหนุ่ย" เซ่นฟอร์มบู่". โพสต์ทูเดย์. 9 มีนาคม 2560. สืบค้นเมื่อ 9 มีนาคม 2560. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  14. "รายที่3! สุโขทัยปลด "สมชาย" - ดันปธ.เทคนิคขัดตาทัพ". Goal Thailand. 10 มีนาคม 2560. สืบค้นเมื่อ 11 มีนาคม 2560. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  15. "OFFICIAL : สุโขทัย เปิดตัว "โค้ชเบ๊" คุมทัพ พร้อมอ้อนแฟนหนุนหลัง". Goal Thailand. 12 มีนาคม 2560. สืบค้นเมื่อ 4 เมษายน 2560. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  16. "Jason resigned".
  17. "Mikes sign for BEC".
  18. "Kiatisuk Senamuang sign for Port".

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]