ข้ามไปเนื้อหา

กีฬาฟุตบอลในซีเกมส์ 2017

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
กีฬาฟุตบอลในซีเกมส์ 2017
รายละเอียดการแข่งขัน
ประเทศเจ้าภาพมาเลเซีย
วันที่14–29 สิงหาคม พ.ศ. 2560
ทีม11 (ชาย) + 5 (หญิง)
สถานที่5 (ใน 3 เมืองเจ้าภาพ)
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน
ชนะเลิศ ไทย (ชาย; สมัยที่ 16)
ธงชาติเวียดนาม เวียดนาม (หญิง, สมัยที่ 5)
รองชนะเลิศ มาเลเซีย (ชาย)
ธงชาติไทย ไทย (หญิง)
อันดับที่ 3 อินโดนีเซีย (ชาย)
ธงชาติประเทศพม่า พม่า (หญิง)
อันดับที่ 4 พม่า (ชาย)
ธงชาติฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์ (หญิง)
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน39
จำนวนประตู119 (3.05 ประตูต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดมาเลเซีย Narveen Raveentranath Tagoor
ประเทศพม่า อองตู
เวียดนาม เหงียน กง เฝื่อง (ชาย; คนละ 4 ประตู)
ประเทศพม่า Win Theingi Tun
(หญิง; 6 ประตู)
2015
2019
ปรับปรุงสถิติทั้งหมด ณ วันที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2560
ซีเกมส์ 2017
กัวลาลัมเปอร์, มาเลเซีย
ฟุตบอล
การแข่งขัน
ชาย   หญิง

การแข่งขันฟุตบอลในกีฬาซีเกมส์ 2017 ครั้งที่ 29 จัดขึ้นที่กัวลาลัมเปอร์, ชาห์อาลัม และ เซอลาโงร์ มาเลเซีย การมอบเหรียญรางวัลจะมีขึ้นสำหรับการแข่งขันประเภททีมชายและทีมหญิง

ตารางการแข่งขัน

[แก้]
G รอบแบ่งกลุ่ม ½ รอบรองชนะเลิศ B รอบชิงอันดับที่ 3 F รอบชิงชนะเลิศ
ประเภท\วันที่ จันทร์ 14 อังคาร 15 พุธ 16 พฤหัสบดี 17 ศุกร์ 18 เสาร์ 19 อาทิตย์ 20 จันทร์ 21 อังคาร 22 พุธ 23 พฤหัสบดี 24 ศุกร์ 25 เสาร์ 26 อาทิตย์ 27 จันทร์ 28 อังคาร 29
ชาย G G G G G G G G G ½ B F
หญิง G G G G G

สนามแข่งขัน

[แก้]

ห้าสนามแข่งขันในสามเมืองที่แตกต่างกันจะถูกใช้ในทัวร์นาเมนต์.

กัวลาลัมเปอร์ กัวลาลัมเปอร์ เซอลาโงร์
สนามกีฬาอารีนา ยูเอ็ม สนามกีฬาแห่งชาติบูกิตจาลิล สนามกีฬาเซอลาโงร์
ความจุ: 1,000 คน ความจุ: 110,000 คน ความจุ: 16,000 คน
Bukit Jalil National Stadium
ชาห์อาลัม ชาห์อาลัม
สนามกีฬาชาห์อาลัม สนามกีฬายูไอทีเอ็ม
ความจุ: 80,372 คน ความจุ: 6,000 คน
Shah Alam Stadium

สนามกีฬาฟุตบอลกัวลาลัมเปอร์ จะเป็นหนึ่งในสนามแข่งขันดั้งเดิมสำหรับการแข่งขันฟุตบอล, จนกระทั่งถูกแทนที่โดย สนามกีฬาเซอลาโงร์ ในเดือนกรกฎาคม 2560 เนื่องมาจากสภาพที่ไม่น่าพอใจในการปรับปรุงสนาม.[1]

ประเทศที่เข้าร่วม

[แก้]

ชาติที่เข้าร่วมการแข่งขัน

[แก้]

ทีมชาย

[แก้]

รอบแบ่งกลุ่ม

[แก้]

กลุ่ม เอ

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1  มาเลเซีย (H) 4 4 0 0 10 4 +6 12 รอบรองชนะเลิศ
2  พม่า 4 3 0 1 12 4 +8 9
3  สิงคโปร์ 4 2 0 2 4 4 0 6
4  ลาว 4 1 0 3 5 8 −3 3
5  บรูไน 4 0 0 4 1 12 −11 0
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุดในนัดการแข่งขันที่ลงเล่นในวันที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2560. แหล่งข้อมูล: เคแอล2017 เว็บไซต์อย่างเป็นทางการ
กฏการจัดอันดับ: 1) คะแนน; 2) ผลต่างประตู; 3) ประตูที่ทำได้
(H) เจ้าภาพ

กลุ่ม บี

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1  ไทย 5 4 1 0 10 1 +9 13 รอบรองชนะเลิศ
2  อินโดนีเซีย 5 3 2 0 7 1 +6 11
3  เวียดนาม 5 3 1 1 12 4 +8 10
4  ฟิลิปปินส์ 5 2 0 3 4 10 −6 6
5  ติมอร์-เลสเต 5 1 0 4 2 8 −6 3
6  กัมพูชา 5 0 0 5 1 12 −11 0
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุดในนัดการแข่งขันที่ลงเล่นในวันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2560. แหล่งข้อมูล: เคแอล2017 เว็บไซต์อย่างเป็นทางการ
กฏการจัดอันดับ: 1) คะแนน; 2) ผลต่างประตู; 3) ประตูที่ทำได้

รอบแพ้คัดออก

[แก้]
 
รอบรองชนะเลิศนัดชิงเหรียญทอง
 
      
 
26 สิงหาคม – ชาห์อาลัม
 
 
 มาเลเซีย1
 
29 สิงหาคม – กัวลาลัมเปอร์
 
 อินโดนีเซีย0
 
 มาเลเซีย0
 
26 สิงหาคม – เซอลาโงร์
 
 ไทย1
 
 ไทย1
 
 
 พม่า0
 
นัดชิงเหรียญทองแดง
 
 
29 สิงหาคม – กัวลาลัมเปอร์
 
 
 อินโดนีเซีย3
 
 
 พม่า1

ทีมหญิง

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน สรุปผลการแข่งขัน
1 ธงชาติเวียดนาม เวียดนาม 4 3 1 0 13 2 +11 10 เหรียญทอง
2 ธงชาติไทย ไทย 4 3 1 0 13 4 +9 10 เหรียญเงิน
3 ธงชาติประเทศพม่า พม่า 4 2 0 2 14 6 +8 6 เหรียญทองแดง
4 ธงชาติฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์ 4 1 0 3 3 13 −10 3
5 ธงชาติมาเลเซีย มาเลเซีย (H) 4 0 0 4 1 19 −18 0
แหล่งข้อมูล: โปรแกรม
กฏการจัดอันดับ: 1) คะแนน; 2) ผลต่างประตู; 3) ประตูที่ทำได้
(H) เจ้าภาพ

สรุปเหรียญ

[แก้]

ตารางเหรียญรางวัล

[แก้]
อันดับที่ ประเทศ ทอง เงิน ทองแดง รวม
1 ไทย 1 1 0 2
2 เวียดนาม 1 0 0 1
3 มาเลเซีย 0 1 0 1
4 อินโดนีเซีย 0 0 1 1
พม่า 0 0 1 1
รวม 2 2 2 6

ผู้ได้รับเหรียญรางวัล

[แก้]
ประเภท เหรียญทอง เหรียญเงิน เหรียญทองแดง
ทีมชาย
รายละเอียด
ไทย
อนุศิษฏ์ เติมมี
ศศลักษณ์ ไหประโคน
สุริยา สิงห์มุ้ย
วรวุฒิ นามเวช
ชินภัทร ลีเอาะ
เชาว์วัฒน์ วีระชาติ
ณัฐวุฒิ สมบัติโยธา
นพพล พลคำ
เจนรบ สำเภาดี
ชัยวัฒน์ บุราณ
เควิน ดีรมรัมย์
พีฬาวัช อรรคธรรม
พิชา อุทรา
มนตรี พรหมสวัสดิ์
ศฤงคาร พรหมสุภะ
พิธิวัต สุขจิตธรรมกุล
รัตนากร ใหม่คามิ
วรชิต กนิตศรีบำเพ็ญ
สิทธิโชค กันหนู
นนท์ ม่วงงาม
มาเลเซีย
Norman Haikal Rendra Iskandar
Danial Ashraf Abdullah
Mohammad Afiq Haikal Haruddin
Adam Nor Azlin
Muhammad Syahmi Safari
Safawi Rasid
Abang Nur Afirman Abang Norazman
Faisal Halim
Jaami Qureshi
Rodney Celvin Akwensivie
โดมินิก ตัน
Hadi Fayyadh
Ariff Farhan Isa
Syazwan Andik
Dhia Azrai Naim Rosman
Firdaus Saiyadi
Narveen Raveentranath Tagoor
Luqman Hakim Shamsudin
Ifwat Akmal Chek Kassim
Wan Kuzri Wan Kamal
อินโดนีเซีย
Satria Tama Hardiyanto
Putu Gede Juni Antara
Andy Setyo
Ryuji Utomo
Evan Dimas
Muhammad Hargianto
Ezra Walian
Gavin Kwan Adsit
Febri Haryadi
Asnawi Bahar
Ricky Fajrin
Saddil Ramdani
Kurniawan Ajie
Hanif Sjahbandi
Yabes Roni
Hansamu Yama
Marinus Wanewar
Osvaldo Haay
Rezaldi Hehanusa
Septian David
ทีมหญิง
รายละเอียด
เวียดนาม
Đặng Thị Kiều Trinh
Nguyễn Thị Xuyến
Chương Thị Kiều
Vũ Thị Thúy
Bùi Thị Như
Vũ Thị Nhung
Nguyễn Thị Tuyết Dung
Nguyễn Thị Liễu
Trần Thị Thùy Trang
Nguyễn Thị Nguyệt
Phạm Hải Yến
Nguyễn Thị Muôn
Trần Thị Kim Thanh
Nguyễn Thị Bích Thùy
Nguyễn Hải Hòa
Nguyễn Thị Vạn
Huỳnh Như
Bùi Thúy An
Nguyễn Thị Thanh Hảo
Trần Thị Hồng Nhung
ไทย
วราภรณ์ บุญสิงห์
ณัฐกานต์ ชินวงศ์
ดวงนภา ศรีตะลา
อินทร์อร พันธุ์ชา
พิกุล เขื่อนเพ็ชร
ศิลาวรรณ อินต๊ะมี
นภัทร สีเสริม
วารุณี เพ็ชรวิเศษ
สุนิสา สร้างไธสง
อลิษา รักพินิจ
รัตติกาล ทองสมบัติ
อรทัย ศรีมณี
นิภาวรรณ ปัญโญสุข
ขวัญฤดี แสงจันทร์
ธนีกาญจน์ แดงดา
ญาดา เซ่งย่อง
พิสมัย สอนไสย์
กาญจนา สังข์เงิน
นิสา ร่มเย็น
เสาวลักษณ์ เพ็งงาม
พม่า
Mya Phu Ngon
Khin Than Wai
Zin Mar Win
Wai Wai Aung
Phu Pwint Khaing
San San Maw
Win Theingi Tun
Naw Arlo Wer Phaw
Yee Yee Oo
Khin Marlar Tun
Khin Moe Wai
Le Le Hlaing
Than Than Htwe
May Sabai Phoo
Nu Nu
July Kyaw
Khin Mo Mo Tun
Zar Zar Myint
Ei Yadanar Phyo
Chit Chit

อ้างอิง

[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]