ฟุตบอลเอเชียเยาวชนหญิงอายุไม่เกิน 19 ปี 2017
2017亚足联U19女子锦标赛 | |
---|---|
รายละเอียดการแข่งขัน | |
ประเทศเจ้าภาพ | จีน |
เมือง | หนานจิง |
วันที่ | 15–28 ตุลาคม ค.ศ. 2017[1] |
ทีม | 8 (จาก 1 สมาพันธ์) |
สถานที่ | 2 (ใน 1 เมืองเจ้าภาพ) |
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน | |
ชนะเลิศ | ญี่ปุ่น (สมัยที่ 5th) |
รองชนะเลิศ | เกาหลีเหนือ |
อันดับที่ 3 | จีน |
อันดับที่ 4 | ออสเตรเลีย |
สถิติการแข่งขัน | |
จำนวนนัดที่แข่งขัน | 16 |
จำนวนประตู | 63 (3.94 ประตูต่อนัด) |
ผู้ชม | 6,713 (420 คนต่อนัด) |
ผู้ทำประตูสูงสุด | Sung Hyang-sim (6 ประตู) |
ผู้เล่นยอดเยี่ยม | Sung Hyang-sim |
รางวัลแฟร์เพลย์ | ญี่ปุ่น |
การแข่งขัน ฟุตบอลเอเชียเยาวชนหญิงอายุไม่เกิน 19 ปี 2017 เป็นการแข่งขันครั้งที่ 9 ของ ฟุตบอลเอเชียเยาวชนหญิงอายุไม่เกิน 19 ปี, เป็นการแข่งขันชิงแชมป์ฟุตบอลยุวชนซึ่งจัดตั้งโดย สมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย (เอเอฟซี) สำหรับทีมหญิงรุ่นอายุไม่เกิน 19 ปีของชาติในทวีปเอเชีย. ทัวร์นาเมนต์จะจัดขึ้นใน ประเทศจีน ในเดือนสิงหาคม ค.ศ. 2017, โดยมีแปดทีมทั้งหมดเข้าร่วมการแข่งขัน.
จีนจะเป็นเจ้าภาพของการแข่งขันตลอดสามปี.
เช่นเดียวกับครั้งที่ผ่านมา, ทัวร์นาเมนต์นี้จะได้รับหน้าที่เป็นตัวแทนของเอเอฟซีที่จะได้เข้าไปเล่นใน ฟุตบอลโลกหญิงอายุไม่เกิน 20 ปี. สามทีมที่ดีที่สุดของทัวร์นาเมนต์จะได้ผ่านเข้าไปเล่นสำหรับ ฟุตบอลโลกหญิงอายุไม่เกิน 20 ปี 2018 ในประเทศฝรั่งเศสในฐานะตัวแทนของเอเอฟซี.
รอบคัดเลือก
[แก้]ทีมที่เข้ารอบ
[แก้]แปดทีมด้านล่างนี้ได้เข้าร่วมในการแข่งขันครั้งนี้
ทีม | ในฐานะ | ครั้งที่ผ่านเข้ารอบ | ผลงานที่ดีที่สุดครั้งที่ผ่านมา |
---|---|---|---|
ญี่ปุ่น | ฟุตบอลเอเชียเยาวชนหญิงอายุไม่เกิน 19 ปี 2015 ชนะเลิศ | 9 | ชนะเลิศ (2002, 2009, 2011, 2015) |
เกาหลีเหนือ | ฟุตบอลเอเชียเยาวชนหญิงอายุไม่เกิน 19 ปี 2015 รองชนะเลิศ | 9 | ชนะเลิศ (2007) |
เกาหลีใต้ | ฟุตบอลเอเชียเยาวชนหญิงอายุไม่เกิน 19 ปี 2015 อันดับสาม | 9 | ชนะเลิศ (2004, 2013) |
จีน | ฟุตบอลเอเชียเยาวชนหญิงอายุไม่เกิน 19 ปี 2015 อันดับสี่ / เจ้าภาพ | 9 | ชนะเลิศ (2006) |
ออสเตรเลีย | รอบคัดเลือก กลุ่ม เอ ชนะเลิศ | 7 | อันดับสาม (2006) |
อุซเบกิสถาน | รอบคัดเลือก กลุ่ม บี ชนะเลิศ | 4 | รอบแบ่งกลุ่ม (2002, 2004, 2015) |
ไทย | รอบคัดเลือก กลุ่ม ซี ชนะเลิศ | 6 | อันดับสี่ (2004) |
เวียดนาม | รอบคัดเลือก กลุ่ม ดี ชนะเลิศ | 4 | อันดับหก (2011) |
สนามแข่งขัน
[แก้]การแข่งขันจะจัดขึ้นในเมือง หนานจิง.[2]
การจับสลาก
[แก้]โถ 1 | โถ 2 | โถ 3 | โถ 4 |
---|---|---|---|
ผู้เล่น
[แก้]ผู้เล่นที่เกิดระหว่างวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1998 และ 31 ธันวาคม ค.ศ. 2001 จะได้มีสิทธิ์ที่จะเข้าร่วมในการแข่งขัน. แต่ละทีมสามารถลงทะเบียนได้สูงสุดแค่ 23 คน (ขั้นต่ำสุดสามคนจะต้องเป็นผู้รักษาประตู).[3]
รอบแบ่งกลุ่ม
[แก้]สองทีมที่ดีที่สุดของแต่ละกลุ่มจะได้ผ่านเข้าสู่รอบรองชนะเลิศ.
เวลาทั้งหมดคือเวลาท้องถิ่น, CST (UTC+8).
กลุ่ม เอ
[แก้]อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | เกาหลีเหนือ (A) | 3 | 3 | 0 | 0 | 13 | 0 | +13 | 9 | รอบแพ้คัดออก |
2 | จีน (H, A) | 3 | 2 | 0 | 1 | 4 | 2 | +2 | 6 | |
3 | อุซเบกิสถาน (E) | 3 | 0 | 1 | 2 | 2 | 6 | −4 | 1 | |
4 | ไทย (E) | 3 | 0 | 1 | 2 | 2 | 13 | −11 | 1 |
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขรอบแบ่งกลุ่ม
(A) ผ่านเข้าสู่รอบต่อไป; (E) ตกรอบ; (H) เจ้าภาพ.
จีน | 2–0 | อุซเบกิสถาน |
---|---|---|
Chen Yuanmeng 19' Liu Jing 61' |
รายงาน |
เกาหลีเหนือ | 9–0 | ไทย |
---|---|---|
ซุง ฮยัง-ซิม 12', 45+1', 47', 69' คิม พม-อึย 19' (ลูกโทษ) รี แฮ-ยน 39', 64' ชู ฮโย-ซิม 45+2' อัน ซง-อก 82' |
รายงาน |
อุซเบกิสถาน | 0–2 | เกาหลีเหนือ |
---|---|---|
รายงาน | ชู ฮโย-ซิม 9' คิม พม-อึย 58' |
จีน | 0–2 | เกาหลีเหนือ |
---|---|---|
รายงาน | อัน ซง-อก 3' รี แฮ-ยน 28' |
ไทย | 2–2 | อุซเบกิสถาน |
---|---|---|
กัญญาณัฐ 45+1' อรพรรณ 71' |
รายงาน | Khabibullaeva 9', 66' |
กลุ่ม บี
[แก้]อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | ญี่ปุ่น | 3 | 3 | 0 | 0 | 15 | 1 | +14 | 9 | รอบแพ้คัดออก |
2 | ออสเตรเลีย | 3 | 2 | 0 | 1 | 8 | 7 | +1 | 6 | |
3 | เกาหลีใต้ | 3 | 1 | 0 | 2 | 5 | 4 | +1 | 3 | |
4 | เวียดนาม | 3 | 0 | 0 | 3 | 2 | 18 | −16 | 0 |
เกาหลีใต้ | 0–2 | ออสเตรเลีย |
---|---|---|
รายงาน | Siemsen 70' Ibini-Isei 90+3' |
เวียดนาม | 0–5 | เกาหลีใต้ |
---|---|---|
รายงาน | มุน อึน-จู 8' คิม โซ-อึน 23', 74', 85' คิม อึน-ซุล 58' |
ออสเตรเลีย | 5–2 | เวียดนาม |
---|---|---|
Siemsen 5' Lowe 13' Chidiac 28', 69', 72' |
รายงาน | เตวี๊ยต เงิน 50' ญาย 81' |
รอบแพ้คัดออก
[แก้]สายการแข่งขัน
[แก้]รอบรองชนะเลิศ | รอบชิงชนะเลิศ | |||||
25 ตุลาคม – หนานจิง | ||||||
เกาหลีเหนือ | 3 | |||||
28 ตุลาคม – หนานจิง | ||||||
ออสเตรเลีย | 0 | |||||
เกาหลีเหนือ | 0 | |||||
25 ตุลาคม – หนานจิง | ||||||
ญี่ปุ่น | 1 | |||||
ญี่ปุ่น | 5 | |||||
จีน | 0 | |||||
รอบชิงอันดับที่สาม | ||||||
28 ตุลาคม – หนานจิง | ||||||
ออสเตรเลีย | 0 | |||||
จีน | 3 |
รอบรองชนะเลิศ
[แก้]ทีมชนะเลิศจะได้สิทธิ์เข้าแข่งขันสำหรับ ฟุตบอลโลกหญิงอายุไม่เกิน 20 ปี 2018.
เกาหลีเหนือ | 3–0 | ออสเตรเลีย |
---|---|---|
คิม พม-อึย 9' (ลูกโทษ) ซุง ฮยัง-ซิม 28', 65' |
รายงาน |
นัดชิงอันดับที่ 3
[แก้]ทีมชนะเลิศจะได้สิทธิ์เข้าแข่งขันสำหรับ ฟุตบอลโลกหญิงอายุไม่เกิน 20 ปี 2018.
รอบชิงชนะเลิศ
[แก้]เกาหลีเหนือ | 0–1 | ญี่ปุ่น |
---|---|---|
รายงาน | อูเอกิ 50' |
รางวัล
[แก้]รางวัลด้านลางนี้จะมอบให้หลังสิ้นสุดการแข่งขัน.
ผู้เล่นทรงคุณค่า | ดาวซัลโว | ทีมแฟร์เพลย์ |
---|---|---|
ซุง ฮยัง-ซิม | ซุง ฮยัง-ซิม | ญี่ปุ่น |
อันดับผู้ทำประตู
[แก้]- 6 ประตู
- 5 ประตู
- 3 ประตู
- 2 ประตู
- 1 ประตู
- 1 การทำเข้าประตูตัวเอง
- Chen Qiaozhu (ในนัดที่พบกับ ญี่ปุ่น)
- ทิพกฤตา อ่อนสมัย (ในนัดที่พบกับ จีน)
- แหล่งที่มา: the-afc.com
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "AFC Competitions Calendar 2017" (PDF). AFC. 12 เมษายน ค.ศ. 2016.
{{cite web}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|date=
(help) - ↑ "Jordan to host AFC Women's Asian Cup 2018 finals". AFC. 4 กันยายน ค.ศ. 2016.
{{cite web}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|date=
(help) - ↑ "Regulations AFC U-19 Women's Championship 2017" (PDF). AFC.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- AFC U-19 Women's Championship, the-AFC.com