ข้ามไปเนื้อหา

ฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 23 ปี 2018 รอบคัดเลือก

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 23 ปี 2018 รอบคัดเลือก 2018
รายละเอียดการแข่งขัน
ประเทศเจ้าภาพคีร์กีซสถาน (กลุ่ม เอ)
ซาอุดิอาระเบีย (กลุ่ม บี)
กาตาร์ (กลุ่ม ซี)
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ (กลุ่ม ดี)
ปาเลสไตน์ (กลุ่ม อี)
เมียนมาร์ (กลุ่ม เอฟ)
เกาหลีเหนือ (กลุ่ม จี)
ไทย (กลุ่ม เอช)
เวียดนาม (กลุ่ม ไอ)
กัมพูชา (กลุ่ม เจ)
วันที่15–23 กรกฎาคม พ.ศ. 2560[1]
ทีม40 (จาก 1 สมาพันธ์)
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน57
จำนวนประตู205 (3.6 ประตูต่อนัด)
ผู้ชม277,285 (4,865 คนต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดอิรัก Ayman Hussein
(6 ประตู)
2016
2020

การแข่งขันฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 23 ปี 2018 รอบคัดเลือก (อังกฤษ: 2018 AFC U-23 Championship qualification) เป็นการแข่งขันฟุตบอลระดับเยาวชนของทวีปเอเชียเพื่อคัดเลือกทีมฟุตบอลเข้าแข่งขันรายการฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 23 ปี 2018 รอบสุดท้ายซึ่งจัดขึ้นโดยสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย ซึ่งผู้ชนะทั้ง 16 ทีม รวมเจ้าภาพคือจีน จะมีสิทธิ์ร่วมแข่งขันในรอบสุดท้าย ณ ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน ในระหว่างวันที่ 19 - 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

การจับฉลากแบ่งกลุ่ม[แก้]

โถ 1 โถ 2 โถ 3 โถ 4
สายตะวันตก
  1.  อิรัก
  2.  กาตาร์ (H)
  3.  สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ (H)
  4.  อิหร่าน
  5.  จอร์แดน
  1.  อุซเบกิสถาน
  2.  ซีเรีย
  3.  ซาอุดีอาระเบีย (H)
  4.  โอมาน
  5.  ทาจิกิสถาน
  1.  ปาเลสไตน์ (H)
  2.  บาห์เรน
  3.  อินเดีย
  4.  คีร์กีซสถาน (H)
  5.  เลบานอน
  1.  อัฟกานิสถาน
  2.  บังกลาเทศ
  3.  ศรีลังกา
  4.  เนปาล
  5.  เติร์กเมนิสถาน
สายตะวันออก
  1.  ญี่ปุ่น
  2.  เกาหลีใต้
  3.  เกาหลีเหนือ (H)
  4.  ออสเตรเลีย
  5.  ไทย (H)
  1.  จีน (H, Q)
  2.  เวียดนาม (H)
  3.  อินโดนีเซีย
  4.  พม่า (H)
  5.  ลาว
  1.  มาเลเซีย
  2.  ติมอร์-เลสเต
  3.  จีนไทเป
  4.  กัมพูชา
  5.  สิงคโปร์
  1.  มองโกเลีย
  2.  ฮ่องกง
  3.  ฟิลิปปินส์
  4.  บรูไน
  5.  มาเก๊า
หมายเหตุ
  • (H): กลุ่มชาติเจ้าภาพที่มาจากรอบคัดเลือก (จีน ได้รับเลือกในฐานะกลุ่มชาติเจ้าภาพที่ผ่านการคัดเลือกหลังสิ้นสุดการจับสลากแบ่งสาย)
  • (Q): เจ้าภาพรอบสุดท้าย, โดยได้ผ่านเข้ารอบโดยอัตโนมัติซึ่งไม่ได้คำนึงถึงผลการแข่งขันจากรอบคัดเลือก

รอบแบ่งกลุ่ม[แก้]

แมตช์ต่างๆ จะลงเล่นระหว่างวันที่ 19 และ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2560.

กลุ่ม เอ[แก้]

  • การแข่งขันทั้งหมดจัดขึ้นที่ ประเทศคีร์กีซสถาน
  • เวลาการแข่งขันเป็นเวลามาตรฐานในท้องถิ่น (UTC+6:00) (ช้ากว่าไทย 1 ชั่วโมง)
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1  โอมาน (Q) 2 2 0 0 7 1 +6 6 สามารถเข้ารอบสุดท้าย
2  อิหร่าน (Y) 2 1 0 1 2 3 −1 3 มีโอกาสเข้ารอบสุดท้าย[a]
3  คีร์กีซสถาน (H, E) 2 0 0 2 2 7 −5 0
4  ศรีลังกา 0 0 0 0 0 0 0 0 ถอนทีม
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : กติกาการแข่งขัน
(E) ตกรอบ; (H) เจ้าภาพ; (Q) ผ่านเข้าสู่รอบที่ระบุ; (Y) ?.
หมายเหตุ :
  1. ทีมอันดับสองที่ดีที่สุดทั้งหมด 5 ทีมจะได้เข้ารอบสุดท้าย ถ้าในกรณีทีมชาติจีนเป็นทีมอันดับสองที่ดีที่สุด ทีมที่ 6 ของทีมอันดับสองที่ดีที่สุดจะได้เข้ารอบสุดท้ายเช่นกัน
คีร์กีซสถาน 1–2 อิหร่าน
Levchenko ประตู 11' รายงาน Shekari ประตู 14'
Gholizadeh ประตู 42'
ผู้ชม: 3,000 คน
ผู้ตัดสิน: Ahmad Yacoub Ibrahim (จอร์แดน)

โอมาน 5–1 คีร์กีซสถาน
Al-Ghassani ประตู 61'83'90+1'
Al-Aghbari ประตู 81' (ลูกโทษ)
Al-Yahmadi ประตู 84'
รายงาน Abdurakhmanov ประตู 45+2'
ผู้ชม: 2,500 คน
ผู้ตัดสิน: Saoud Ali Al-Adba (กาตาร์)

อิหร่าน 0–2 โอมาน
รายงาน Al-Yahmadi ประตู 48'
Al-Ghassani ประตู 71'
ผู้ชม: 1,000 คน

กลุ่ม บี[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1  ซาอุดีอาระเบีย (H, X) 2 2 0 0 11 1 +10 6 สามารถเข้ารอบสุดท้าย
2  อิรัก (X) 2 2 0 0 10 1 +9 6 มีโอกาสเข้ารอบสุดท้าย[a]
3  บาห์เรน (E) 2 0 0 2 2 5 −3 0
4  อัฟกานิสถาน (E) 2 0 0 2 0 16 −16 0
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด วันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2560. แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : กติกาการแข่งขัน
(E) ตกรอบ; (H) เจ้าภาพ; (X) Assured of at least second place.
หมายเหตุ :
  1. ทีมอันดับสองที่ดีที่สุดทั้งหมด 5 ทีมจะได้เข้ารอบสุดท้าย ถ้าในกรณีทีมชาติจีนเป็นทีมอันดับสองที่ดีที่สุด ทีมที่ 6 ของทีมอันดับสองที่ดีที่สุดจะได้เข้ารอบสุดท้ายเช่นกัน
อิรัก 8–0 อัฟกานิสถาน
Rasan ประตู 13' (ลูกโทษ)
Hussein ประตู 39' (ลูกโทษ)45'65'74'85'
Mhawi ประตู 82'
Jaffal ประตู 86'
รายงาน
ซาอุดีอาระเบีย 3–1 บาห์เรน
Al-Aryani ประตู 7'
Al-Najei ประตู 73' (ลูกโทษ)
Al-Shamsan ประตู 88' (เข้าประตูตัวเอง)
รายงาน Madan ประตู 63' (ลูกโทษ)

บาห์เรน 1–2 อิรัก
Madan ประตู 84' รายงาน Attwan ประตู 52'
Fayad ประตู 70'
ผู้ชม: 200 คน
ผู้ตัดสิน: Yaqoob Abdul Baki (โอมาน)
อัฟกานิสถาน 0–8 ซาอุดีอาระเบีย
รายงาน Al-Amri ประตู 12'22'
Al-Najei ประตู 15'
Al-Aryani ประตู 18'45+4'
Altambakti ประตู 58'
Al-Rashidi ประตู 72'81'

อิรัก 2–0 ซาอุดีอาระเบีย
Al-Saedi ประตู 23'
Hussein ประตู 45+1'
รายงาน
ผู้ชม: 500 คน
ผู้ตัดสิน: Yaqoob Abdul Baki (โอมาน)

กลุ่ม ซี[แก้]

  • การแข่งขันทั้งหมดจัดขึ้นที่ ประเทศกาตาร์
  • เวลาการแข่งขันเป็นเวลามาตรฐานในท้องถิ่น (UTC+3:00) (ช้ากว่าไทย 4 ชั่วโมง)
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1  กาตาร์ (H, X) 2 2 0 0 3 0 +3 6 สามารถเข้ารอบสุดท้าย
2  ซีเรีย 2 1 1 0 2 0 +2 4 มีโอกาสเข้ารอบสุดท้าย[a]
3  เติร์กเมนิสถาน (Y) 2 0 1 1 0 2 −2 1
4  อินเดีย (E) 2 0 0 2 0 3 −3 0
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด วันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2560. แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : กติกาการแข่งขัน
(E) ตกรอบ; (H) เจ้าภาพ; (X) Assured of at least second place; (Y) Cannot qualify directly to 2018 AFC U-23 Championship, but may still advance by one of the best runners-up.
หมายเหตุ :
  1. ทีมอันดับสองที่ดีที่สุดทั้งหมด 5 ทีมจะได้เข้ารอบสุดท้าย ถ้าในกรณีทีมชาติจีนเป็นทีมอันดับสองที่ดีที่สุด ทีมที่ 6 ของทีมอันดับสองที่ดีที่สุดจะได้เข้ารอบสุดท้ายเช่นกัน
ซีเรีย 2–0 อินเดีย
Srour ประตู 64'
Arnaout ประตู 88'
รายงาน
ผู้ชม: 853 คน
ผู้ตัดสิน: Kim Hee-gon (เกาหลีใต้)
กาตาร์ 2–0 เติร์กเมนิสถาน
Afif ประตู 4'15' รายงาน
ผู้ชม: 1,736 คน
ผู้ตัดสิน: Suhaizi Shukri (มาเลเซีย)

เติร์กเมนิสถาน 0–0 ซีเรีย
รายงาน
ผู้ชม: 780 คน
ผู้ตัดสิน: Nivon Robesh Gamini (ศรีลังกา)
อินเดีย 0–1 กาตาร์
รายงาน Ali ประตู 54'
ผู้ชม: 2,768 คน
ผู้ตัดสิน: Chen Hsin-Chuan (จีนไทเป)

อินเดีย 3–1 เติร์กเมนิสถาน
Singh ประตู 41'
Deory ประตู 72'
Lalrinzuala ประตู 77' (ลูกโทษ)
รายงาน Hojovov ประตู 13'
ผู้ชม: 312 คน
ผู้ตัดสิน: Kim Hee-gon (เกาหลีใต้)
กาตาร์ 1–1 ซีเรีย
Al-Brake ประตู 38' รายงาน Muhtadi ประตู 60'
ผู้ชม: 1,760 คน
ผู้ตัดสิน: Suhaizi Shukri (มาเลเซีย)

กลุ่ม ดี[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1  อุซเบกิสถาน (Q) 3 3 0 0 7 1 +6 9 สามารถเข้ารอบสุดท้าย
2  สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ (H) 3 2 0 1 6 2 +4 6 มีโอกาสเข้ารอบสุดท้าย[a]
3  เลบานอน (E) 3 1 0 2 3 4 −1 3
4 24x20px link= เนปาล (E) 3 0 0 3 0 9 −9 0
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : กติกาการแข่งขัน
(E) ตกรอบ; (H) เจ้าภาพ; (Q) ผ่านเข้าสู่รอบที่ระบุ.
หมายเหตุ :
  1. ทีมอันดับสองที่ดีที่สุดทั้งหมด 5 ทีมจะได้เข้ารอบสุดท้าย ถ้าในกรณีทีมชาติจีนเป็นทีมอันดับสองที่ดีที่สุด ทีมที่ 6 ของทีมอันดับสองที่ดีที่สุดจะได้เข้ารอบสุดท้ายเช่นกัน
อุซเบกิสถาน 3–1 เลบานอน
Khamis ประตู 20' (เข้าประตูตัวเอง)
Abdixolikov ประตู 30'38'
รายงาน Hammoud ประตู 58'
ผู้ชม: 50 คน
ผู้ตัดสิน: Takuto Okabe (ญี่ปุ่น)

เนปาล 0–2 อุซเบกิสถาน
รายงาน Tursunov ประตู 21'
Ganiev ประตู 80'
ผู้ชม: 1,825 คน
ผู้ตัดสิน: Ahmed Al-Ali (จอร์แดน)

เลบานอน 2–0 เนปาล
Kourani ประตู 29'90' รายงาน
ผู้ชม: 1,850 คน
ผู้ตัดสิน: Jameel Abdulhusin (บาห์เรน)

กลุ่ม อี[แก้]

  • การแข่งขันทั้งหมดจัดขึ้นที่ ปาเลสไตน์
  • เวลาการแข่งขันเป็นเวลามาตรฐานในท้องถิ่น (UTC+3:00) (ช้ากว่าไทย 4 ชั่วโมง)
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1  ทาจิกิสถาน 2 1 1 0 5 3 +2 4 สามารถเข้ารอบสุดท้าย
2  ปาเลสไตน์ (H) 2 1 1 0 5 4 +1 4 มีโอกาสเข้ารอบสุดท้าย[a]
3  จอร์แดน 2 1 0 1 9 3 +6 3
4  บังกลาเทศ (E) 2 0 0 2 1 10 −9 0
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด วันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2560. แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : กติกาการแข่งขัน
(E) ตกรอบ; (H) เจ้าภาพ.
หมายเหตุ :
  1. ทีมอันดับสองที่ดีที่สุดทั้งหมด 5 ทีมจะได้เข้ารอบสุดท้าย ถ้าในกรณีทีมชาติจีนเป็นทีมอันดับสองที่ดีที่สุด ทีมที่ 6 ของทีมอันดับสองที่ดีที่สุดจะได้เข้ารอบสุดท้ายเช่นกัน
จอร์แดน 7–0 บังกลาเทศ
Mousa ประตู 17'50'
Al Deen Mahmoud ประตู 37'63'
Fawzi Mahmoud ประตู 55'78' (ลูกโทษ)
Faisal ประตู 58'
รายงาน
ทาจิกิสถาน 2–2 ปาเลสไตน์
Chakalov ประตู 33'
Babadjanov ประตู 75' (ลูกโทษ)
รายงาน Fannoun ประตู 18' (ลูกโทษ)
Jurabaev ประตู 51' (เข้าประตูตัวเอง)

ปาเลสไตน์ 3–2 จอร์แดน
Abuhammad ประตู 38'
Yousef ประตู 66'
Wridat ประตู 76'
รายงาน Alarab ประตู 19'
Al-Razem ประตู 31'

จอร์แดน 2–0 ทาจิกิสถาน
Al-Reyahi ประตู 55'
Faisal ประตู 68'
รายงาน
ปาเลสไตน์ 3–0 บังกลาเทศ
Abu Warda ประตู 8'36'90+1' รายงาน

กลุ่ม เอฟ[แก้]

  • การแข่งขันทั้งหมดจัดขึ้นที่ ประเทศเมียนมาร์
  • เวลาการแข่งขันเป็นเวลามาตรฐานในท้องถิ่น (UTC+6:30) (ช้ากว่าไทย 30 นาที)
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1  ออสเตรเลีย (Q) 3 3 0 0 12 0 +12 9 สามารถเข้ารอบสุดท้าย
2  พม่า (H, Y) 3 2 0 1 5 3 +2 6 มีโอกาสเข้ารอบสุดท้าย[a]
3  บรูไน (E) 3 0 0 3 1 9 −8 0
4  สิงคโปร์ (E) 3 1 0 2 4 10 −6 3
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : กติกาการแข่งขัน
(E) ตกรอบ; (H) เจ้าภาพ; (Q) ผ่านเข้าสู่รอบที่ระบุ; (Y) ไม่สามารถได้สิทธิ์ผ่านเข้ารอบโดยตรงต่อ ฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 23 ปี 2018 รอบคัดเลือก, แต่อาจจะได้ผ่านเข้าสู่ รองชนะเลิศที่ดีที่สุด.
หมายเหตุ :
  1. ทีมอันดับสองที่ดีที่สุดทั้งหมด 5 ทีมจะได้เข้ารอบสุดท้าย ถ้าในกรณีทีมชาติจีนเป็นทีมอันดับสองที่ดีที่สุด ทีมที่ 6 ของทีมอันดับสองที่ดีที่สุดจะได้เข้ารอบสุดท้ายเช่นกัน
ออสเตรเลีย 2–0 บรูไน
Blackwood ประตู 53'
McGree ประตู 85'
รายงาน
พม่า 2–0 สิงคโปร์
Aung Thu ประตู 60'
Hlaing Bo Bo ประตู 90+3'
รายงาน

สิงคโปร์ 0–7 ออสเตรเลีย
รายงาน Mauk ประตู 8'
Blackwood ประตู 13'18'
Popovic ประตู 39'60'
Clut ประตู 68'
Sotirio ประตู 73'
บรูไน 0–3 พม่า
รายงาน Nyein Chan Aung ประตู 20'61'
Naing Lin Tun ประตู 44'

สิงคโปร์ 4–1 บรูไน
Fandi ประตู 13'90+1'
Akbar ประตู 39'
Suparno ประตู 86'
รายงาน Suhaimi ประตู 45+1'
ออสเตรเลีย 3–0 พม่า
Kamau ประตู 6'
Aspropotamitis ประตู 32'
Sotirio ประตู 58'
รายงาน

กลุ่ม จี[แก้]

  • การแข่งขันทั้งหมดจัดขึ้นที่ ประเทศเกาหลีเหนือ
  • เวลาการแข่งขันเป็นเวลามาตรฐานในท้องถิ่น (UTC+8:30) (เร็วกว่าไทย 2 ชั่วโมง 30 นาที)
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1  เกาหลีเหนือ (H, Q) 3 2 1 0 14 2 +12 7 สามารถเข้ารอบสุดท้าย
2  ฮ่องกง (E) 3 1 2 0 6 2 +4 5
3  ลาว (E) 3 1 1 1 4 8 −4 4
4  จีนไทเป (E) 3 0 0 3 2 14 −12 0
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : กติกาการแข่งขัน
(E) ตกรอบ; (H) เจ้าภาพ; (Q) ผ่านเข้าสู่รอบที่ระบุ.
ลาว 3–1 จีนไทเป
Sonthanalay ประตู 26'42'
Khochalern ประตู 49'
รายงาน Jhou Cheng ประตู 3'

ฮ่องกง 1–1 ลาว
Jordan Lam ประตู 75' รายงาน Kettavong ประตู 73'

เกาหลีเหนือ 6–0 ลาว
Kim Kuk-bom ประตู 5'
So Jong-hyok ประตู 14'33'
Ri Hun ประตู 21'
Kim Yu-song ประตู 56'
Jon Se-gye ประตู 87'
รายงาน

กลุ่ม เอช[แก้]

  • การแข่งขันทั้งหมดจัดขึ้นที่ ประเทศไทย
  • เวลาการแข่งขันเป็นเวลามาตรฐานในท้องถิ่น (UTC+7:00)
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1  มาเลเซีย 3 2 0 1 5 3 +2 6 สามารถเข้ารอบสุดท้าย
2  ไทย (H) 3 1 2 0 4 1 +3 5
3  อินโดนีเซีย 3 1 1 1 7 3 +4 4
4  มองโกเลีย 3 0 1 2 1 10 −9 1
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : กติกาการแข่งขัน
(H) เจ้าภาพ.

มองโกเลีย 0–7 อินโดนีเซีย
รายงาน Saddil ประตู 17'56'
Wanewar ประตู 31'
Gavin ประตู 34'88'
Haay ประตู 71'
Septian ประตู 90'
มาเลเซีย 0–3 ไทย
รายงาน สำเภาดี ประตู 25'45+3'
อุทรา ประตู 87'

ไทย 0–0 อินโดนีเซีย
รายงาน

กลุ่ม ไอ[แก้]

  • การแข่งขันทั้งหมดจัดขึ้นที่ ประเทศเวียดนาม
  • เวลาการแข่งขันเป็นเวลามาตรฐานในท้องถิ่น UTC+7
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1  เกาหลีใต้ 3 2 1 0 12 1 +11 7 สามารถเข้ารอบสุดท้าย
2  เวียดนาม (H) 3 2 0 1 13 3 +10 6
3  ติมอร์-เลสเต 3 1 1 1 7 5 +2 4
4  มาเก๊า 3 0 0 3 2 25 −23 0
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : กติกาการแข่งขัน
(H) เจ้าภาพ.
เกาหลีใต้ 10–0 มาเก๊า
Cho Young-wook ประตู 10'14'25'55'
Hwang In-beom ประตู 29'
Doo Hyeon-seok ประตู 48'
Park Seong-bu ประตู 53' (ลูกโทษ)78'
Jo Sung-wook ประตู 64'
Park Jae-woo ประตู 90+3'
รายงาน
เวียดนาม 4–0 ติมอร์-เลสเต
Chinh ประตู 17'
Phượng ประตู 67'71' (ลูกโทษ)
Anh ประตู 88'
รายงาน
ผู้ชม: 6,010 คน
ผู้ตัดสิน: Yu Ming-hsun (จีนไทเป)

ติมอร์-เลสเต 0–0 เกาหลีใต้
รายงาน
มาเก๊า 1–8 เวียดนาม
Ng Wa Keng ประตู 65' รายงาน Bình ประตู 4'20'
Toàn ประตู 7'63'
Phượng ประตู 12' (ลูกโทษ)
Trường ประตู 24' (ลูกโทษ)
Khánh ประตู 26'
Duy ประตู 49'
ผู้ชม: 7,000 คน
ผู้ตัดสิน: Masoud Tufayelieh (ซีเรีย)

ติมอร์-เลสเต 7–1 มาเก๊า
Cruz ประตู 2'
Reis ประตู 24'66' (ลูกโทษ)
Portela ประตู 31'76' (ลูกโทษ)
Gama ประตู 52'
Sarmento ประตู 86'
รายงาน Lo Man Hin ประตู 64'
เกาหลีใต้ 2–1 เวียดนาม
Lee Sang-heon ประตู 19'
Hwang In-beom ประตู 41'
รายงาน Phượng ประตู 33'
ผู้ชม: 18,000 คน
ผู้ตัดสิน: Masoud Tufayelieh (ซีเรีย)

กลุ่ม เจ[แก้]

  • การแข่งขันทั้งหมดจัดขึ้นที่ ประเทศกัมพูชา
  • เวลาการแข่งขันเป็นเวลามาตรฐานในท้องถิ่น UTC+7
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1  จีน[a] (Q) 3 2 1 0 4 1 +3 7 สามารถเข้ารอบสุดท้าย
2  ญี่ปุ่น (Q) 3 2 0 1 11 2 +9 6
3  กัมพูชา (H, E) 3 1 1 1 1 2 −1 4
4  ฟิลิปปินส์ (E) 3 0 0 3 0 11 −11 0
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : กติกาการแข่งขัน
(E) ตกรอบ; (H) เจ้าภาพ; (Q) ผ่านเข้าสู่รอบที่ระบุ.
หมายเหตุ :
  1. จีน, ในฐานะเจ้าภาพรอบสุดท้าย, ได้สิทธิ์ผ่านเข้ารอบอัตโนมัติโดยไม่คำนึงถึงผลการแข่งขันรอบคัดเลือก
ญี่ปุ่น 8–0 ฟิลิปปินส์
Morishima ประตู 10'31'
Komatsu ประตู 23'29'42'46'
Nakasaka ประตู 83'
Hiroki ประตู 89'
รายงาน
จีน 0–0 กัมพูชา
รายงาน

กัมพูชา 0–2 ญี่ปุ่น
รายงาน Endo ประตู 73'
Komatsu ประตู 84'

ญี่ปุ่น 1–2 จีน
Endo ประตู 54' รายงาน Wei Shihao ประตู 40'
Deng Hanwen ประตู 45+1'

ทีมอันดับสองที่มีคะแนนดีที่สุด[แก้]

อันดับ กลุ่ม ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 เอช  ไทย 2 1 1 0 3 0 +3 4 รอบสุดท้าย
2 ซี  ซีเรีย 2 1 1 0 3 1 +2 4
3 ไอ  เวียดนาม 2 1 0 1 5 2 +3 3
4 อี  จอร์แดน 2 1 0 1 4 3 +1 3
5 เจ  ญี่ปุ่น 2 1 0 1 3 2 +1 3
6 บี  ซาอุดีอาระเบีย 2 1 0 1 3 3 0 3
7 เอ  อิหร่าน 2 1 0 1 2 3 −1 3
8 เอฟ  พม่า 2 1 0 1 2 3 −1 3
9 ดี  สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ 2 1 0 1 1 2 −1 3
10 จี  ฮ่องกง 2 0 2 0 2 2 0 2
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : 1) points; 2) goal difference; 3) goals scored; 4) disciplinary points; 5) drawing of lots.

ทีมที่ผ่านรอบคัดเลือก[แก้]

ประเทศ ผ่านเข้ารอบในฐานะ เข้ารอบเมื่อวันที่ ผลงานการลงสนามครั้งที่ผ่านมาในทัวร์นาเมนต์
 จีน เจ้าภาพ 25 พฤศจิกายน 2559 2 (2013, 2016)
 โอมาน กลุ่ม เอ ชนะเลิศ 23 กรกฎาคม 2560 1 (2013)
 อิรัก กลุ่ม บี ชนะเลิศ 23 กรกฎาคม 2560 2 (2013, 2016)
 กาตาร์ กลุ่ม ซี ชนะเลิศ 23 กรกฎาคม 2560 1 (2016)
 อุซเบกิสถาน กลุ่ม ดี ชนะเลิศ 19 กรกฎาคม 2560 2 (2013, 2016)
 ปาเลสไตน์ กลุ่ม อี ชนะเลิศ 23 กรกฎาคม 2560 0 (ครั้งแรก)
 ออสเตรเลีย กลุ่ม เอฟ ชนะเลิศ 23 กรกฎาคม 2560 2 (2013, 2016)
 เกาหลีเหนือ กลุ่ม จี ชนะเลิศ 23 กรกฎาคม 2560 2 (2013, 2016)
 มาเลเซีย กลุ่ม เอช ชนะเลิศ 23 กรกฎาคม 2560 0 (เปิดตัวครั้งแรก)
 เกาหลีใต้ กลุ่ม ไอ ชนะเลิศ 23 กรกฎาคม 2560 2 (2013, 2016)
 ไทย อันดับที่ 1 รองชนะเลิศที่ดีที่สุด 23 กรกฎาคม 2560 1 (2016)
 ซีเรีย อันดับที่ 2 รองชนะเลิศที่ดีที่สุด 23 กรกฎาคม 2560 2 (2013, 2016)
 เวียดนาม อันดับที่ 3 รองชนะเลิศที่ดีที่สุด 23 กรกฎาคม 2560 1 (2016)
 จอร์แดน อันดับที่ 4 รองชนะเลิศที่ดีที่สุด 23 กรกฎาคม 2560 2 (2013, 2016)
 ญี่ปุ่น อันดับที่ 5 รองชนะเลิศที่ดีที่สุด 23 กรกฎาคม 2560 2 (2013, 2016)
 ซาอุดีอาระเบีย อันดับที่ 6 รองชนะเลิศที่ดีที่สุด 23 กรกฎาคม 2560 2 (2013, 2016)
1 ตัวหนา หมายถึงทีมชนะเลิศสำหรับปีนั้น. ตัวเอียง หมายถึงชาติเจ้าภาพสำหรับปีนั้น.

อันดับดาวซัลโว[แก้]

6 ประตู
5 ประตู
4 ประตู
3 ประตู
2 ประตู
1 ประตู
1 การทำเข้าประตูตัวเอง
  • บาห์เรน Hamad Al-Shamsan (ในนัดที่พบกับ ซาอุดิอาระเบีย)
  • เลบานอน Khalil Khamis (ในนัดที่พบกับ อุซเบกิสถาน)
  • ทาจิกิสถาน Zoir Jurabaev (ในนัดที่พบกับ ปาเลสไตน์)
แหล่งที่มา: the-afc.com

หมายเหตุ[แก้]

  1. แมตช์ระหว่างไทยและมองโกเลียได้ถูกเลื่อนการแข่งขันเนื่องจากฝนที่ตกลงมาอย่างหนักจากเวลา 19:00 เปลี่ยนไปเป็น 20:10.

อ้างอิง[แก้]

  1. "AFC Calendar of Competitions 2017 (UPDATED) Updated as of 12 April 2016" (PDF). The-AFC.com. 12 เมษายน พ.ศ. 2559. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  2. "FIFA Congress drives football forward, first female secretary general appointed". FIFA. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-05-21. สืบค้นเมื่อ 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2559. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]