ข้ามไปเนื้อหา

ผู้ใช้:Mr.GentleCN

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก ผู้ใช้:Mr.BuriramCN)

หน้าหลัก สนทนา งาน กระบะทราย บทความ รู้ไหมว่า ภาคผนวก

วันนี้ตรงกับวันอาทิตย์ที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2568 เวลา 12:33 น.

Mr.Gentle+(CN)
— ชาววิกิพีเดีย —
เกิดจังหวัดบุรีรัมย์ ประเทศไทย
เพศ
ประเทศประเทศไทย
สถิติบัญชีผู้ใช้
เข้าร่วมเมื่อ9 กันยายน พ.ศ. 2555 (12 ปี)
กล่องผู้ใช้
ผู้ใช้คนนี้คิดว่าวิกิพีตัง

เป็นตัวละครที่น่ารักที่สุดในวิกิพีเดีย

บทความแนะนำเดือนนี้

[แก้]
ธงชาติญี่ปุ่นตั้งแต่ ค.ศ. 1999
ธงชาติญี่ปุ่นตั้งแต่ ค.ศ. 1999

ธงชาติญี่ปุ่น มีลักษณะเป็นธงรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าพื้นสีขาว กึ่งกลางธงเป็นรูปวงกลมสีแดง มีชื่อตามกฎหมายว่า นิชโชกิ แต่ในญี่ปุ่นนิยมเรียกธงนี้ว่า ฮิโนมารุ ซึ่งมีความหมายว่า วงกลมดวงอาทิตย์ จึงมีการเรียกประเทศนี้อย่างลำลองว่า ดินแดนแห่งพระอาทิตย์อุทัย ตามชื่อธง

ธงรูปดวงอาทิตย์เป็นธงชาติของญี่ปุ่นโดยพฤตินัยก่อนการประกาศใช้พระราชบัญญัติธงชาติและเพลงชาติใน ค.ศ. 1999 ก่อนหน้านั้นไม่มีบัญญัติใดที่กำหนดลักษณะของธงชาติขึ้นเฉพาะ ต่อมาเมื่อ ค.ศ. 1870 ไดโจกังได้ออกพระบรมราชโองการกำหนดลักษณะของธงชาติสองฉบับ โดยธงรูปดวงอาทิตย์ได้รับการประกาศใช้เป็นธงเรือราษฎร์ตามพระบรมราชโองการที่ 57 แห่งรัชศกเมจิที่ 3 และธงชาติที่ใช้ในเรือหลวงตามพระบรมราชโองการที่ 651 แห่งรัชศกเมจิที่ 3

ความรู้สึกของสาธารณชนต่อธงชาติญี่ปุ่นมีความหลากหลาย แหล่งข้อมูลทั้งทางตะวันตกและญี่ปุ่นเองกล่าวว่าในอดีตธงชาติญี่ปุ่นนั้นเป็นสัญลักษณ์ที่ทรงพลังและยั่งยืนของชาวญี่ปุ่น นับแต่การสิ้นสุดของสงครามโลกครั้งที่สอง การใช้ธงชาติและเพลงชาติคิมิงาโยะในโรงเรียนรัฐญี่ปุ่นเป็นประเด็นถกเถียงที่นำไปสู่การประท้วงและการฟ้องร้อง มีการนำฮิโนมารุเป็นต้นแบบของธงอื่นในญี่ปุ่นทั้งภาครัฐและเอกชน


บทความแนะนำที่เสนอผ่าน

บทความแนะนำจากโครงการวิกิ

[แก้]

บทความน่าสนใจจากโครงการวิกิและบทความที่สร้างเอง:

ย่างกุ้ง, ยานโกน (พม่า: ရန်ကုန်; เอ็มแอลซีทีเอส: Rankun, ออกเสียง: [jàɰ̃.ɡòʊ̯ɰ̃]; "จุดจบแห่งสงคราม") หรือ ร่างกุ้ง (อังกฤษ: Rangoon) เป็นเมืองหลวงของภาคย่างกุ้ง และเป็นเมืองหลวงทางการค้าของพม่า ย่างกุ้งทำหน้าที่เป็นเมืองหลวงของพม่าจนถึงปี ค.ศ. 2006 เมื่อรัฐบาลทหารย้ายศูนย์ราชการไปยังเนปยีดอในภาคกลางของประเทศพม่าอย่างเป็นทางการ ด้วยประชากรกว่า 7 ล้านคนย่างกุ้งจึงเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดของพม่าและเป็นศูนย์กลางการค้าที่สำคัญที่สุด

ย่างกุ้งมีจำนวนอาคารยุคอาณานิคมมากที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และมีใจกลางเมืองยุคอาณานิคมอันเป็นเอกลักษณ์ที่ไม่เหมือนใคร ศูนย์กลางการค้ายุคอาณานิคมแห่งนี้เป็นศูนย์กลางอยู่รอบรอบเจดีย์ซู่เลซึ่งขึ้นชื่อว่ามีอายุมากกว่า 2,000 ปี เมืองนี้ยังเป็นที่ตั้งของเจดีย์ชเวดากอง ซึ่งเป็นเจดีย์ศักดิ์สิทธิ์ที่สุดในพม่า สุสานของจักรพรรดิโมกุลองค์สุดท้ายก็ตั้งอยู่ในย่างกุ้ง ซึ่งพระองค์ถูกเนรเทศมาหลังการจลาจลของอินเดียใน ค.ศ. 1857

ย่างกุ้งได้รับผลกระทบจากโครงสร้างพื้นฐานที่ไม่เพียงพอโดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อเทียบกับเมืองใหญ่อื่น ๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แม้ว่าที่อยู่อาศัยที่มีชื่อเสียงในประวัติศาสตร์และอาคารพาณิชย์หลายแห่งจะได้รับการปรับปรุงใหม่ทั่วใจกลางเมืองย่างกุ้ง แต่ย่านโดยรอบของเมืองยังคงยากจนและยังขาดโครงสร้างพื้นฐาน


A-Class article บทความที่สร้าง
เรียงตามวันที่สร้าง
สถานีย่อยและโครงการวิกิที่สร้าง หน้าโครงการวิกิ

รู้ไหมว่า...

[แก้]
เรื่องน่าสนใจจากบทความล่าสุดและเพิ่งปรับปรุงของวิกิพีเดีย :
การระเบิดทำลายอาคารในโครงการพรูอิตต์–ไอโก
การระเบิดทำลายอาคารในโครงการพรูอิตต์–ไอโก

รู้หรือไม่ บทความ "รู้ไหมว่า" ที่เสนอผ่าน
รู้หรือไม่ DYK Fast Track →

ค้นหาเรื่องน่าสนใจจาก 100 บทความล่าสุดของวิกิพีเดียภาษาไทย

23 กุมภาพันธ์ 2568

22 กุมภาพันธ์ 2568

21 กุมภาพันธ์ 2568

20 กุมภาพันธ์ 2568


บทความแรกของแต่ละปีในวิกิพีเดียภาษาไทย

เหตุการณ์ในวันเกิดของข้าพเจ้า

[แก้]

3 กรกฎาคม: วันเอกราชของเบลารุส (พ.ศ. 2487)

ภาพวาดภาพแรกของเบนซ์ พาเทนท์-มอทอร์วาเกินใน ค.ศ. 1886
ภาพวาดภาพแรกของเบนซ์ พาเทนท์-มอทอร์วาเกินใน ค.ศ. 1886

ดูเพิ่ม: 2 กรกฎาคม3 กรกฎาคม4 กรกฎาคม

มกราคม - กุมภาพันธ์ - มีนาคม - เมษายน - พฤษภาคม - มิถุนายน - กรกฎาคม - สิงหาคม - กันยายน - ตุลาคม - พฤศจิกายน - ธันวาคม

เกียรติประวัติ

[แก้]
สัญลักษณ์ ผู้มอบ วันที่ได้รับ
   เหรียญรางวัล DYK (X3) ผู้ใช้:B20180
ผู้ใช้:Timekeepertmk
ผู้ใช้:EZBELLA
8 กุมภาพันธ์ 2562
4 สิงหาคม 2563
20 มีนาคม 2564
ดาวเกียรติยศผู้ตรวจสอบหน้าใหม่ ผู้ใช้:Geonuch 24 กุมภาพันธ์ 2562
เหรียญรางวัล DYK 200 บทความ!!! ผู้ใช้:EZBELLA 20 มีนาคม 2564
ดาวผู้ใช้เกียรติยศวิกิพีเดียไทย ผู้ใช้:อิกคิวซัง 9 กรกฎาคม 2564
ดาวรถไฟ ผู้ใช้:B20180 1 ธันวาคม 2564
ดาวแห่งชีวิต ผู้ใช้:B20180 17 มิถุนายน 2565
ดาวเกียรติยศกิจกรรมสนับสนุนรู้ไหมว่า พ.ศ. 2567 ผู้ใช้:Wutkh 9 ธันวาคม 2567