พ.ศ. 2483
หน้าตา
(เปลี่ยนทางจาก ค.ศ. 1940)
บทความนี้ไม่มีการอ้างอิงจากแหล่งที่มาใด |
ศตวรรษ: | |
---|---|
ปี: |
ปฏิทินสุริยคติไทย | 2483 |
ปฏิทินกริกอเรียน | 1940 MCMXL |
Ab urbe condita | 2693 |
ปฏิทินอาร์มีเนีย | 1389 ԹՎ ՌՅՁԹ |
ปฏิทินอัสซีเรีย | 6690 |
ปฏิทินบาไฮ | 96–97 |
ปฏิทินเบงกอล | 1347 |
ปฏิทินเบอร์เบอร์ | 2890 |
ปีในรัชกาลอังกฤษ | 4 Geo. 6 – 5 Geo. 6 |
พุทธศักราช | 2484 |
ปฏิทินพม่า | 1302 |
ปฏิทินไบแซนไทน์ | 7448–7449 |
ปฏิทินจีน | 己卯年 (เถาะธาตุดิน) 4636 หรือ 4576 — ถึง — 庚辰年 (มะโรงธาตุโลหะ) 4637 หรือ 4577 |
ปฏิทินคอปติก | 1656–1657 |
ปฏิทินดิสคอร์เดีย | 3106 |
ปฏิทินเอธิโอเปีย | 1932–1933 |
ปฏิทินฮีบรู | 5700–5701 |
ปฏิทินฮินดู | |
- วิกรมสมวัต | 1996–1997 |
- ศกสมวัต | 1862–1863 |
- กลียุค | 5041–5042 |
ปฏิทินโฮโลซีน | 11940 |
ปฏิทินอิกโบ | 940–941 |
ปฏิทินอิหร่าน | 1318–1319 |
ปฏิทินอิสลาม | 1358–1359 |
ปฏิทินญี่ปุ่น | ศักราชโชวะ 15 (昭和15年) |
ปฏิทินจูเช | 29 |
ปฏิทินจูเลียน | กริกอเรียนลบ 13 วัน |
ปฏิทินเกาหลี | 4273 |
ปฏิทินหมินกั๋ว | ROC 29 民國29年 |
พุทธศักราช 2483 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1940 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน (หากเป็นการนับศักราชแบบเดิม พ.ศ. 2483 เริ่มในวันที่ 1 เมษายน)
ผู้นำ
[แก้]- พระมหากษัตริย์: พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร (2 มีนาคม พ.ศ. 2477 – 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489)
- เจ้านครประเทศราช : (ลำพูน) เจ้าจักรคำขจรศักดิ์ (พ.ศ. 2454 – 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2486)
- นายกรัฐมนตรี: จอมพล แปลก พิบูลสงคราม (16 ธันวาคม พ.ศ. 2481 – 1 สิงหาคม พ.ศ. 2487)
เหตุการณ์
[แก้]- 10 กุมภาพันธ์ - ทอมกับเจอร์รี่ เปิดตัวตอนแรกที่มีชื่อว่า "พุส เก็ตส์ เดอะ บูท"
- 5 เมษายน - มิโคยาน กูเรวิชนำเครื่องบินรบ มิก 1เครื่องบินรบลำแรก ทยานสู่ท้องฟ้ารัสเซียเป็นครั้งแรก
- 9 เมษายน - สงครามโลกครั้งที่สอง: ปฏิบัติการเวเซรือบุง (Operation Weserübung) เยอรมนีรุกรานเดนมาร์ก และนอร์เวย์
- 10 พฤษภาคม - เยอรมันโจมตีเนเธอร์แลนด์
- 13 พฤษภาคม - เนเธอร์แลนด์ประกาศยอมแพ้ต่อเยอรมัน
- 15 พฤษภาคม - สงครามโลกครั้งที่สอง: กองทัพเยอรมันเข้ายึดครองกรุงอัมส์เตอร์ดัม และบุกเข้าโจมตีภาคเหนือของประเทศฝรั่งเศส
- 15 พฤษภาคม - ร้าน แมคโดนัลด์ ได้ถูกก่อตั้งขึ้นแล้ว
- 16 พฤษภาคม - สงครามโลกครั้งที่สอง: ประเทศเนเธอร์แลนด์ประกาศยอมจำนนต่อนาซีเยอรมนี
- 17 พฤษภาคม - สงครามโลกครั้งที่สอง: กองทัพเยอรมันเข้ายึดครองกรุงบรัสเซลส์ ประเทศเบลเยียม
- 25 พฤษภาคม - สงครามโลกครั้งที่สอง: ยุทธภูมิดันเคิร์ก เริ่มต้นขึ้น
- 28 พฤษภาคม - สงครามโลกครั้งที่สอง: ประเทศเบลเยียมประกาศยอมจำนนต่อเยอรมนี
- 10 มิถุนายน -
- สงครามโลกครั้งที่สอง: ทหารเยอรมันเดินทางถึงช่องแคบอังกฤษ
- สงครามโลกครั้งที่สอง: ประเทศแคนาดาประกาศสงครามกับอิตาลี
- สงครามโลกครั้งที่สอง: ประเทศนอร์เวย์ประกาศยอมจำนนต่อเยอรมนี
- อิตาลีประกาศสงครามกับอังกฤษ-ฝรั่งเศส
- 14 มิถุนายน - ปารีสตกอยู่ภายใต้การยึดครองของนาซีเยอรมัน
- 17 มิถุนายน - สหภาพโซเวียตเข้ายึดครองเอสโตเนีย ลัตเวีย และลิทัวเนีย
- 22 มิถุนายน - รัฐบาลฝรั่งเศสยอมลงนามสงบศึกกับเยอรมัน
- 28 มิถุนายน - ประเทศโรมาเนียยกดินแดนเบสซาราเบีย (ประเทศมอลโดวาในปัจจุบัน) ให้แก่สหภาพโซเวียต
- 20 กรกฎาคม - นิตยสารบิลล์บอร์ด ตีพิมพ์เผยแพร่ "ตารางอันดับเพลงยอดนิยม" เป็นครั้งแรก
- 27 กรกฎาคม - บั๊กส์ บันนี่ ปรากฏตัวครั้งแรกในการ์ตูนแอนิเมชัน A Wild Hare
- 8 สิงหาคม - เยอรมันเริ่มยุทธการแห่งบริเตน โดยส่งฝูงบินไปทิ้งระเบิดเกาะอังกฤษ
- 30 สิงหาคม - เยอรมันบังคับให้โรมาเนียยกแคว้นทรานซิลเวเนียให้ฮังการี
ไม่ทราบวันที่
[แก้]- ค้นพบ ธาตุแอสทาทีน, เนปทูเนียม และ พลูโทเนียม
เหตุการณ์ที่กำลังดำเนินอยู่
[แก้]วันเกิด
[แก้]- 4 มกราคม -
- เกา ซิงเจี้ยน นักประพันธ์, นักเขียนบทละคร และนักวิจารณ์ผู้อพยพชาวจีน
- เฮลมุต ยาห์น สถาปนิกชาวอเมริกัน-เยอรมัน
- 6 มกราคม - ช็อง ชิน-โจ นักมวยสากลสมัครเล่นชาวเกาหลีใต้
- 10 มกราคม - พระเจ้าโอมูกาเบอึนตาเรที่ 6
- 11 มกราคม - สมนเล๊าะ โปขะรี อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลา 2 สมัย
- 12 มกราคม - มัททีอัส ฮาบิช นักแสดงชายชาวเยอรมัน
- 15 มกราคม - เดวิด แกสคอยน์ ทนายความ
- 17 มกราคม - นาโอฮิโระ อิเกดะ นักกีฬาวอลเลย์บอลชายชาวญี่ปุ่น
- 24 มกราคม -
- น้ำเงิน บุญหนัก นักแสดงและนักพากย์ชาวไทย
- โยอาคิม เกาค์ นักการเมืองและนักกิจกรรมด้านสิทธิพลเมืองชาวเยอรมัน
- 25 มกราคม - พิภพ อะสีติรัตน์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร 5 สมัย และ อดีตสมาชิกวุฒิสภา
- 27 มกราคม - เจมส์ ครอมเวล นักแสดงชาวอเมริกัน
- 28 มกราคม -
- การ์โลส เอสลิม เจ้าของธุรกิจสื่อสารในเม็กซิโก
- เบเวอร์ลี เบนบริดจ์ นักกีฬาว่ายน้ำ
- 3 กุมภาพันธ์ - ยาซูตากะ ซาโต นักกีฬาวอลเลย์บอลชายชาวญี่ปุ่น
- 4 กุมภาพันธ์ -
- จอร์จ โรเมโร ผู้กำกับภาพยนตร์ชาวอเมริกัน-แคนาดา (ถึงแก่กรรม 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2560)
- เวลกา วิลีปา นักแสดงภาพยนตร์และโรงละครชาวลัตเวีย (ถึงแก่กรรม 2 เมษายน พ.ศ. 2561)
- 5 กุมภาพันธ์ - ฮาแอร์ กีเกอร์ จิตรกรและนักออกแบบศิลปะชาวสวิส (ถึงแก่กรรม 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2557)
- 6 กุมภาพันธ์ - เดวี ซูการ์โน นักธุรกิจ, นักสังคมสงเคราะห์, ผู้มีชื่อเสียง และผู้มีจิตการกุศลชาวญี่ปุ่น
- 7 กุมภาพันธ์ - โทนี ตัน เค็ง ยัม ประธานาธิบดีคนที่เจ็ดของประเทศสิงคโปร์
- 9 กุมภาพันธ์ - จอห์น แมกซ์เวล คุตซี นักเขียนและนักการศึกษาคนสำคัญชาวออสเตรเลีย
- 17 กุมภาพันธ์ - เคานต์อิงกอล์ฟแห่งโรเซินบอร์ก
- 19 กุมภาพันธ์ - สโมกีย์ โรบินสัน นักร้อง-นักแต่งเพลงชาวอเมริกัน
- 21 กุมภาพันธ์ - จอห์นนี่ คียส์ นักแสดงภาพยนตร์ลามก ลูกครึ่งแอฟริกา-อเมริกัน (ถึงแก่กรรม 3 มิถุนายน พ.ศ. 2561)
- 23 กุมภาพันธ์ - ปีเตอร์ ฟอนดา นักแสดงชาวอเมริกัน (ถึงแก่กรรม 16 สิงหาคม พ.ศ. 2562)
- 24 กุมภาพันธ์ -
- เจ้าหญิงมารีอา กาเบรียลลาแห่งซาวอย เจ้าหญิงแห่งอิตาลี
- เดนิส ลอว์ นักฟุตบอลชาวสกอตแลนด์
- 26 กุมภาพันธ์ - โทกูงาวะ สึเนนาริ ผู้นำ ตระกูลโทะกุงะวะ คนที่ 18
- 6 มีนาคม - ฟีลิป อามอรี นักธุรกิจสื่อสิ่งพิมพ์ชาวฝรั่งเศส (ถึงแก่กรรม 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2549)
- 9 มีนาคม - สุรัตน์ สุนทรเวช นายกรัฐมนตรีคนที่ 25 ของประเทศไทย อดีตที่ปรึกษาด้านการเงินของเครือเจริญโภคภัณฑ์
- 10 มีนาคม - ชัค นอร์ริส นักแสดงชาวอเมริกัน
- 12 มีนาคม - อัล จาร์โร นักร้องชาวอเมริกัน (ถึงแก่กรรม 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560)
- 13 มีนาคม - โคเซ ฟูกูนางะ หญิงชนชั้นมูลนายชาวญี่ปุ่น
- 16 มีนาคม - เบอร์นาร์โด แบร์โตลุซซี นักประพันธ์และผู้กำกับภาพยนตร์ชาวอิตาลี
- 19 มีนาคม - บิลลี บีสลีย์ นักการเมืองจากสหรัฐอเมริกา
- 20 มีนาคม - พอล เนวิล (นักการเมือง) นักการเมืองชาวออสเตรเลีย (ถึงแก่กรรม 1 มกราคม พ.ศ. 2562)
- 21 มีนาคม - ธีรเดช มีเพียร สมาชิกวุฒิสภาไทย อดีตสมาชิกวุฒิสภาแบบสรรหา อดีตประธานวุฒิสภา อดีตประธานผู้ตรวจการแผ่นดินของประเทศไทย
- 22 มีนาคม -
- เจ้าชายมีชาเอลแห่งปรัสเซีย (ถึงแก่กรรม 3 เมษายน พ.ศ. 2557)
- ฮัง โงร์ นักแสดงชาวกัมพูชา (ถึงแก่กรรม 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2539)
- 24 มีนาคม - ไดแอนน์ ดัชเชสแห่งเวือร์ทเทิมแบร์ค
- 26 มีนาคม -
- เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์ นักประพันธ์ชาวไทย
- แนนซี เพโลซี ประธานสภาผู้แทนราษฎรแห่งสหรัฐอเมริกา
- 29 มีนาคม - อัสตรุด ชิลเบร์ตู นักร้องเพลงบอสซาโนวาชาวบราซิล
- 1 เมษายน - อักขราทร จุฬารัตน ประธานศาลปกครองสูงสุด
- 3 เมษายน - วัลลภ สุปริยศิลป์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดน่าน 8 สมัย (ถึงแก่กรรม 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561)
- 5 เมษายน - พีระพล เชาว์ศิริ หนึ่งใน ตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครอง
- 5 เมษายน - พีระพล เชาว์ศิริ หนึ่งใน ตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองสูงสุด
- 6 เมษายน - ธีระ ห้าวเจริญ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม และอดีตผู้บัญชาการทหารเรือ
- 7 เมษายน - เจ้าหญิงเฟาซียะห์ ฟารุก แห่งอียิปต์ (ถึงแก่กรรม 27 มกราคม พ.ศ. 2548)
- 9 เมษายน - ภิญญา ช่วยปลอด อดีตรัฐมนตรีช่วยวาการกระทรวงพาณิชย์ และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุราษฎร์ธานี 4 สมัย
- 12 เมษายน -
- ไมเคิล ไรท นักคิด นักประพันธ์ และคอลัมนิสต์ชาวอังกฤษ (ถึงแก่กรรม 7 มกราคม พ.ศ. 2552)
- เฮอร์บี แฮนค็อก นักแต่งเพลงและนักเปียโนแจ๊สชาวอเมริกัน
- 13 เมษายน - ฌ็อง-มารี กุสตาฟว์ เลอ เกลซีโย นักเขียนนักเดินทางรอบโลกและศาสตราจารย์คนสำคัญชาวฝรั่งเศส
- 14 เมษายน - เจ้าหญิงมารีแห่งลิกเตนสไตน์
- 16 เมษายน- สมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก พระมหากษัตริย์แห่งเดนมาร์กที่สละราชสมบัติ
- 17 เมษายน - อิวอนน์ เบลก นีกแสดงหญิงชาวอังกฤษ (ถึงแก่กรรม 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2561)
- 21 เมษายน - สุชาติ เชาว์วิศิษฐ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง (ถึงแก่กรรม 22 ตุลาคม พ.ศ. 2552)
- 23 เมษายน -
- พระธรรมธัชมุนี (อมร ญาโณทโย) พระภิกษุคณะธรรมยุติกนิกาย
- อดิศัย โพธารามิก นักการเมืองและวิศวกรชาวไทย
- 25 เมษายน -
- ชนิกา ตู้จินดา แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านกุมารเวชศาสตร์
- อัล ปาชิโน นักแสดงชาวอเมริกัน
- 26 เมษายน - จอร์โจ มอโรเดร์ โปรดิวเซอร์เพลง นักเขียนเพลง ศิลปินเพลง ดีเจ ชาวอิตาลี
- 3 พฤษภาคม - ปราโมทย์ ไม้กลัด นักการเมืองชาวไทย ประธานผู้ตรวจการแผ่นดิน อดีตสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ อดีตสมาชิกวุฒิสภากรุงเทพมหานคร อดีตอธิบดีกรมชลประทาน
- 4 พฤษภาคม - วิจิตร สุวิทย์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลา 4 สมัย
- 5 พฤษภาคม - บรรจบ เจริญพร เข้าสู่วงการเพลงลูกทุ่งเมื่อปี 2511 (ถึงแก่กรรม 30 ตุลาคม พ.ศ. 2559)
- 8 พฤษภาคม - ริกกี เนลสัน นักร้อง นักดนตรี และนักแสดงชาวอเมริกัน (ถึงแก่กรรม 31 ธันวาคม พ.ศ. 2528)
- 11 พฤษภาคม -
- จันนา โปโฮเรนโค นักแสดงชาวรัสเซีย
- ฟิลิป เคนต์ เกรย์ เอิร์ลที่ 7 แห่งเกรย์ (ถึงแก่กรรม 1 สิงหาคม พ.ศ. 2554)
- 13 พฤษภาคม - สมลักษณ์ จัดกระบวนพล ดำรงตำแหน่งกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.)
- 18 พฤษภาคม -
- ครรชิต ขวัญประชา นักแสดงและผู้กำกับภาพยนตร์อาวุโสชาวไทย
- โมนิคา กริมม์ นักแสดงหญิงและนักร้องป็อปชาวเยอรมัน
- 20 พฤษภาคม - แชร์ (นักร้อง) นักแสดง ผู้กำกับภาพยนตร์ โปรดิวเซอร์เพลงชาวอเมริกัน
- 23 พฤษภาคม - นิธิ เอียวศรีวงศ์ นักคิด นักเขียน และศาสตราจารย์ด้านประวัติศาสตร์ชาวไทย
- 26 พฤษภาคม - เรืองวิทย์ ลิกค์ อดีตรัฐมนตรีหลายกระทรวง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดกำแพงเพชร 9 สมัย
- 27 พฤษภาคม - ซอทชา ดลามินี นายกรัฐมนตรีแห่งประเทศสวาซิแลนด์ (ถึงแก่กรรม 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560)
- 30 พฤษภาคม - อดุลย์ ศรีโสธร นักมวยไทยชื่อดัง (ถึงแก่กรรม 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2519)
- 1 มิถุนายน - เรเน ออเบอร์โจนอยส์ นักพากย์ชาวอเมริกัน
- 2 มิถุนายน -
- พจน์ วิเทตยนตรกิจ นักธุรกิจชาวไทย อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์
- สมเด็จพระราชาธิบดีคอนสแตนตินที่ 2 แห่งกรีซ พระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายของกรีซ
- 4 มิถุนายน - ไชยวัฒน์ ไตรยสุนันท์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรระบบบัญชีรายชื่อ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเพชรบูรณ์ 2 สมัย อดีตผู้อำนวยการองค์การคลังสินค้า
- 6 มิถุนายน -
- ชุมพล ศิลปอาชา นักการเมืองไทย (ถึงแก่กรรม 21 มกราคม พ.ศ. 2556)
- สุรชาติ ชำนาญศิลป์ นักการเมืองชาวไทย (ถึงแก่กรรม 9 สิงหาคม พ.ศ. 2560)
- 7 มิถุนายน -
- ทอม โจนส์ นักร้องชาวเวลส์
- ลัมแบร์ท ฮาเมิล นักแสดงภาพยนตร์และโทรทัศน์ชาวเยอรมัน
- 8 มิถุนายน - แนนซี ซินาตรา นักร้อง นักแสดงชาวอเมริกัน
- 17 มิถุนายน - ผณินทรา ภัคเกษม อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ 3 สมัย
- 24 มิถุนายน - มาลินีมงคล อมาตยกุล พระนามเดิม “หม่อมเจ้ามาลินีมงคล ยุคล” (สิ้นชีพิตักษัย 11 มิถุนายน พ.ศ. 2565)
- 28 มิถุนายน - มูฮัมหมัด ยูนูส นายธนาคารและนักเศรษฐศาสตร์ชาวบังกลาเทศ
- 2 กรกฎาคม -
- ดารา กันละยา กวี และนักเขียนชาวลาว
- รุริโกะ อะซะโอะกะ นักแสดงหญิงชาวญี่ปุ่น
- 5 กรกฎาคม - หลิน ฟ่ง อดีตนักแสดงหญิงภาพยนตร์จีน (ถึงแก่กรรม 28 สิงหาคม พ.ศ. 2519)
- 7 กรกฎาคม - ริงโก สตาร์ นักดนตรี นักร้อง-นักแต่งเพลง นักพากย์และนักแสดงชาวอังกฤษ
- 12 กรกฎาคม - แพตทริเซีย ฮันทิงฟอร์ด นักกีฬาว่ายน้ำ
- 17 กรกฎาคม - มารีนา กาเรลลา
- 18 กรกฎาคม - ปีเตอร์ มุธาริกา นักการเมืองนักการศึกษาและทนายความชาวมาลาวี
- 19 กรกฎาคม - เจ้าหญิงฮานาโกะ พระชายาในเจ้าชายมาซาฮิโตะ
- 22 กรกฎาคม - เจ้าชายซิกซ์ตุส เฮนรีแห่งบูร์บง-ปาร์มา
- 31 กรกฎาคม - เจ้าหญิงทาทีอานาแห่งไซน์-วิทเกินชไตน์-แบร์เลอบวร์ค
- 1 สิงหาคม - โมซัมเมล ฮอสเซน (ถึงแก่กรรม 10 มกราคม พ.ศ. 2563)
- 10 สิงหาคม - อิสระชัย บำรุงพงศ์ อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตผู้บัญชาการทหาร (ถึงแก่กรรม 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2552)
- 13 สิงหาคม - บุษยา รังสี นักร้องสุนทราภรณ์ (ถึงแก่กรรม 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553)
- 20 สิงหาคม - พงศกร เลาหวิเชียร อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม และอดีตอธิบดีกรมการขนส่งทางบก (ถึงแก่กรรม 15 มกราคม พ.ศ. 2554)
- 28 สิงหาคม -
- เดียร์ค กาลูบา นักแสดงโทรทัศน์ชายชาวเยอรมัน
- วิลเลียม โคเฮน นักการเมืองชาวอเมริกัน
- 7 กันยายน - อับดูร์ระฮ์มัน วาฮิด อดีตประธานาธิบดีแห่งอินโดนีเซีย (ถึงแก่กรรม 30 ธันวาคม พ.ศ. 2552)
- 11 กันยายน - ไบรอัน เดอ ปาลมา ผู้กำกับภาพยนตร์และนักเขียนบทภาพยนตร์ชาวอเมริกัน
- 13 กันยายน - โอสการ์ อาเรียส ซันเชซ ประธานาธิบดีคอสตาริกา
- 19 กันยายน -
- คาริน บาล์ นักแสดงภาพยนตร์และโทรทัศน์ชาวเยอรมัน
- ลี เดวิส อดีตนักการเมืองจากประเทศออสเตรเลีย
- 20 กันยายน -
- ชัยวัฒน์ คุประตกุล นักวิทยาศาสตร์ นักการศึกษา นักเขียน นักแปล คอลัมนิสต์ นักจัดรายการวิทยุและโทรทัศน์
- ทาโร อาโซ รองนายกรัฐมนตรี และ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังคนปัจจุบันของญี่ปุ่น อดีตนายกรัฐมนตรีญี่ปุ่น
- บูร์ฮานุดดีน รับบานี ประธานาธิบดีแห่งรัฐอิสลามอัฟกานิสถาน (ถึงแก่กรรม 20 กันยายน พ.ศ. 2554)
- 21 กันยายน - กัลยา โสภณพนิช นักการเมืองไทย
- 23 กันยายน -
- ปัญญวัฒน์ บุญมี อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ระบบบัญชีรายชื่อ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครปฐม (ถึงแก่กรรม 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556)
- มีแชล เตเมร์ นักการเมืองชาวบราซิล
- สุภาพร กิตติขจร บุตรคนที่.3 ของจอมพล ประภาส จารุเสถียร (ถึงแก่กรรม 17 มีนาคม พ.ศ. 2548)
- 2 ตุลาคม - เจ้าชายมูฮัมหมัด บิน เฏาะลาล
- 3 ตุลาคม - หลิว หย่งชิง อดีตสุภาพสตรีหมายเลขหนึ่ง
- 8 ตุลาคม - อาจอง ชุมสาย ณ อยุธยา วิศวกรชาวไทย
- 9 ตุลาคม -
- จอห์น เลนนอน นักรองและนักดนตรีชาวอังกฤษ (ถึงแก่กรรม 8 ธันวาคม พ.ศ. 2523)
- ปราโมทย์ สุขุม อดีตกรรมการบริหารพรรคประชาธิปัตย์ อดีตสมาชิกผู้แทนราษฎรเขตคลองสาน อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (ถึงแก่กรรม 23 มีนาคม พ.ศ. 2550)
- 10 ตุลาคม - คิโยชิ ทานาเบะ นักมวยสากลชาวญี่ปุ่น
- 12 ตุลาคม -
- เป็กกา ปืกเกอ ศาสตราจารย์ชาวฟินแลนด์
- วิลเลียม ซิมส์ เบนบริดจ์ นักสังคมวิทยาชาวอเมริกัน
- 14 ตุลาคม - คลิฟฟ์ ริชาร์ด นักร้องชาวอังกฤษ
- 15 ตุลาคม - ปีเตอร์ ซี. โดเฮอร์ที สัตวแพทย์และนักวิจัยในสาขาการแพทย์ชาวออสเตรเลีย
- 17 ตุลาคม - เดชฤทธิ์ อิทธิอนุชิต นักมวยไทยชื่อดัง
- 19 ตุลาคม - ไมเคิล แกมบอน นักแสดงชาวอังกฤษ
- 20 ตุลาคม -
- เจสเปอร์ ลังเบิร์ก นักแสดงภาพยนตร์ชายจากประเทศเดนมาร์ก (ถึงแก่กรรม 29 มิถุนายน พ.ศ. 2562)
- อีฟแทค สเปกเตอร์ นายพลจัตวาชาวอิสราเอล
- 23 ตุลาคม -
- เปเล่ นักฟุตบอลชาวบราซิล
- สม จาตุศรีพิทักษ์ สมาชิกวุฒิสภาไทย ชุดที่ 12 อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์
- 27 ตุลาคม - เจ้าหญิงชาห์นาซ ปาห์ลาวี
- 29 ตุลาคม - เจ้าหญิงลัลลา นูซาห์ (ถึงแก่กรรม 2 กันยายน พ.ศ. 2520)
- 7 พฤศจิกายน - เฮลมุท อาร์เทิลท์ นักกีฬายิงปืนชาวเยอรมัน
- 12 พฤศจิกายน - ธวัช วิชัยดิษฐ อดีตเลขาธิการนายกรัฐมนตรี และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคประชาธิปัตย์ (ถึงแก่กรรม 11 ธันวาคม พ.ศ. 2541)
- 15 พฤศจิกายน - พรชัย มาตังคสมบัติ อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล
- 16 พฤศจิกายน - สมพงษ์ เจริญเมือง นักมวยไทยชาวไทย
- 18 พฤศจิกายน - สมเด็จพระราชาธิบดีสุลต่านกอบูส บิน ซะอีด อัสซะอีด สุลต่านแห่งโอมาน (สวรรคต 10 มกราคม พ.ศ. 2563)
- 22 พฤศจิกายน -
- เทรี กิลเลียม นักเขียนบทภาพยนตร์ ผู้กำกับภาพยนตร์ ผู้ผลิตแอนิเมชัน นักแสดง นักแสดงตลกชาวอังกฤษ
- รอย โธมัส นักเขียนและบรรณาธิการหนังสือการ์ตูนชาวอเมริกัน
- 27 พฤศจิกายน - บรู๊ซ ลี นักแสดงชาวอเมริกัน (ถึงแก่กรรม 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2516)
- 29 พฤศจิกายน - ชัก แมนจิโอนี นักเป่าฟลูเกิลฮอร์น นักเล่นทรัมเปต และนักประพันธ์เพลง ชาวอเมริกัน
- 7 ธันวาคม - ช่วง มูลพินิจ ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (จิตรกรรม) ประจำปี พ.ศ. 2556
- 11 ธันวาคม - เดวิด เกตส์ นักร้องและนักแต่งเพลงชาวอเมริกัน
- 12 ธันวาคม - ดิออน วอร์วิค นักร้องชาวอเมริกัน
- 18 ธันวาคม - เหลยเฟิง ทหารชาวจีน (ถึงแก่กรรม 15 สิงหาคม พ.ศ. 2505)
- 19 ธันวาคม - เจ้าชายวัลเดมาร์แห่งชัมเบิร์ก-ลิพเพอ
- 21 ธันวาคม -
- พระเผด็จ ทตฺตชีโว พระภิกษุชาวไทย
- แฟรงก์ แซปพา นักดนตรี นักประพันธ์เพลง นักกิจกรรม และผู้สร้างภาพยนตร์ ชาวอเมริกัน (ถึงแก่กรรม 4 ธันวาคม พ.ศ. 2536)
- 23 ธันวาคม - วีระชัย แนวบุญเนียร อดีตกรรมการการเลือกตั้ง อดีตกรรมการการเลือกตั้ง อดีตผู้ว่าราชการจังหวัดหลายจังหวัด (ถึงแก่กรรม 20 สิงหาคม พ.ศ. 2555)
- 24 ธันวาคม - เอนดน มะห์มูด อดีตสุภาพสตรีหมายเลขหนึ่งของประเทศมาเลเซีย (ถึงแก่กรรม 20 ตุลาคม พ.ศ. 2548)
- 25 ธันวาคม - มูเซ ฮัสซัน ชีค ซายิด อับดุลเล นักการทหารและนักการเมืองอาวุโสชาวโซมาเลีย
- 31 ธันวาคม -
- เจ้าหญิงเอลิซาเบธ ดัชเชสในบาวาเรีย
- โสภณ เพชรสว่าง อดีตรองประธานสภาผู้แทนราษฎร คนที่ 1
เกิด (ไม่ทราบวัน)
[แก้]- เจ้าวัฒนัน ณ ลำพูน เจ้านายฝ่ายเหนือ ผู้สืบราชสกุลเจ้าผู้ครองนครลำพูน
- แดง ไบเล่ บุคคลที่มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร์ (ถึงแก่กรรม พ.ศ. 2507)
- ไทสัน อาร์. โรเบิร์ตส์ นักวิชาการ, นักวิจัย และนักสำรวจทางด้านมีนวิทยาและธรรมชาติวิทยาชาวอเมริกัน
- ปรียา รุ่งเรือง นักแสดงชาวไทย (ถึงแก่กรรม พ.ศ. 2527)
- พระคณาจารย์จีนธรรมปัญญาจริยาภรณ์ (เย็นเชี้ยวมหาเถระ) พระภิกษุนิกายมหายาน
- โรเบิร์ต บุย สถาปนิกสัญชาติอเมริกัน
- วินัย สะมะอุน นักวิชาการศาสนาอิสลาม อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ อดีตสมาชิวุฒิสภา
- ศิระ ปัทมาคม อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพระนคร
- สมเด็จพระราชาธิบดีกาปีลีเล ฟาวปาลา
- บุญนำ ชุ่มศรี นักร้องลูกทุ่งหญิงชาวไทย (ถึงแก่กรรม 2 กันยายน พ.ศ. 2538)
วันถึงแก่กรรม
[แก้]- 15 กรกฎาคม - โรเบิร์ต แวดโลว์ ชายที่สูงที่สุดในโลก (เกิด 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2461)
รางวัล
[แก้]รางวัลโนเบล
[แก้]- สาขาเคมี – ไม่มีการมอบรางวัล
- สาขาวรรณกรรม – ไม่มีการมอบรางวัล
- สาขาสันติภาพ – ไม่มีการมอบรางวัล
- สาขาฟิสิกส์ – ไม่มีการมอบรางวัล
- สาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ – ไม่มีการมอบรางวัล