เอเชียนคัพ 2023
รายละเอียดการแข่งขัน | |
---|---|
ประเทศเจ้าภาพ | กาตาร์ |
วันที่ | 12 มกราคม – 10 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2024[1] |
ทีม | 24 |
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน | |
ชนะเลิศ | กาตาร์ (สมัยที่ 2) |
รองชนะเลิศ | จอร์แดน |
อันดับที่ 3 | เกาหลีใต้ |
อันดับที่ 4 | อิหร่าน |
สถิติการแข่งขัน | |
จำนวนนัดที่แข่งขัน | 51 |
จำนวนประตู | 132 (2.59 ประตูต่อนัด) |
ผู้ชม | 1,507,790 (29,565 คนต่อนัด) |
ผู้ทำประตูสูงสุด | อักร็อม อะฟีฟ (8 ประตู) |
ผู้เล่นยอดเยี่ยม | อักร็อม อะฟีฟ[2] |
ผู้รักษาประตูยอดเยี่ยม | เมชาอัล บาร์ชัม[3] |
เอเชียนคัพ 2023 (อังกฤษ: 2023 AFC Asian Cup) เป็นการแข่งขันฟุตบอลชายชิงแชมป์เอเชีย (เอเชียนคัพ) ครั้งที่ 18 ภายใต้การควบคุมของสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย โดยกาตาร์ ได้รับเลือกให้เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันแทนสาธารณรัฐประชาชนจีนที่ได้ถอนตัวจากการเป็นเจ้าภาพเนื่องจากการการระบาดทั่วของโควิด-19 และนโยบายโควิดเป็นศูนย์ภายในประเทศ[4] กำหนดจัดการแข่งขันประมาณต้นปีของ พ.ศ. 2567[1] มีจำนวนทีมที่เข้าร่วมแข่งขัน 24 ทีมหลังจากการเพิ่มจำนวนในเอเชียนคัพ 2019 ซึ่งรวมทั้งเจ้าภาพด้วย[5] โดยมีกาตาร์เป็นทีมชนะเลิศครั้งก่อน
การคัดเลือก
[แก้]การแข่งขันรอบคัดเลือกสองรอบแรกจะจัดขึ้นพร้อมกับฟุตบอลโลก 2022 รอบคัดเลือก โซนเอเชีย โดยกาตาร์เข้าร่วมแข่งขันรอบคัดเลือกรอบที่สองเพื่อให้ได้สิทธิ์ผ่านเข้ารอบสุดท้ายของเอเชียนคัพเท่านั้น[6] เนื่องจากพวกเขาผ่านเข้ารอบสุดท้ายของฟุตบอลโลกในฐานะเจ้าภาพแล้ว
ติมอร์-เลสเตถูกสั่งห้ามไม่ให้เข้าร่วมแข่งขัน เนื่องจากพบผู้เล่นที่ลงทะเบียนผิดกฎถึง 12 คนในการแข่งขันเอเชียนคัพ 2019 รอบคัดเลือกและรายการอื่น[7] อย่างไรก็ตาม ฟีฟ่าไม่ได้แบนติมอร์-เลสเตในการแข่งขันฟุตบอลโลกรอบคัดเลือก ติมอร์-เลสเตจึงได้รับอนุญาตให้เข้าร่วมแข่งขันได้ แม้ว่าจะไม่ได้สิทธิ์ผ่านเข้ารอบเอเชียนคัพก็ตาม[8]
รอบคัดเลือกเริ่มแข่งขันตั้งแต่วันที่ 6 มิถุนายน ค.ศ. 2019 เพื่อให้ได้ 24 ทีมที่จะเข้าไปเล่นในรอบสุดท้าย ซึ่งจะแข่งขันในเดือนมิถุนายนถึงกรกฎาคม ค.ศ. 2023 โดยมีการเลื่อนจากกำหนดการเดิมในเดือนมกราคมถึงกุมภาพันธ์ เพื่อไม่ให้กระชั้นชิดกับการแข่งขันฟุตบอลโลก 2022 ที่กาตาร์ ซึ่งจัดขึ้นในเดือนพฤศจิกายนถึงธันวาคม ค.ศ. 2022 เกาหลีเหนือถอนตัวจากการแข่งขันเนื่องจากความกังวลเกี่ยวกับการระบาดทั่วของโควิด-19 ญี่ปุ่นเป็นชาติแรกที่ผ่านเข้าไปเล่นในรอบสุดท้ายหลังจากที่เอาชนะพม่า 10–0
ทีมที่ผ่านการคัดเลือก
[แก้]ทีมชาติ | วิธีการ คัดเลือก |
วันที่ ผ่านการคัดเลือก |
ครั้งที่ ปรากฏตัว |
ปรากฏตัว ครั้งล่าสุด |
ผลงานที่ดีที่สุด ก่อนหน้านี้ |
---|---|---|---|---|---|
กาตาร์ | ชนะเลิศ รอบที่ 2 กลุ่ม อี / เจ้าภาพ | 7 มิถุนายน 2021 | 11 | 2019 | ชนะเลิศ (2019) |
ญี่ปุ่น | ชนะเลิศ รอบที่ 2 กลุ่ม เอฟ | 28 พฤษภาคม 2021 | 10 | 2019 | ชนะเลิศ (1992, 2000, 2004, 2011) |
ซีเรีย | ชนะเลิศ รอบที่ 2 กลุ่ม เอ | 7 มิถุนายน 2021 | 7 | 2019 | รอบแบ่งกลุ่ม (1980, 1984, 1988, 1996, 2011, 2019) |
เกาหลีใต้ | ชนะเลิศ รอบที่ 2 กลุ่ม เอช | 9 มิถุนายน 2021 | 15 | 2019 | ชนะเลิศ (1956, 1960) |
ออสเตรเลีย | ชนะเลิศ รอบที่ 2 กลุ่ม บี | 11 มิถุนายน 2021 | 5 | 2019 | ชนะเลิศ (2015) |
อิหร่าน | ชนะเลิศ รอบที่ 2 กลุ่ม ซี | 15 มิถุนายน 2021 | 15 | 2019 | ชนะเลิศ (1968, 1972, 1976) |
ซาอุดีอาระเบีย | ชนะเลิศ รอบที่ 2 กลุ่ม ดี | 15 มิถุนายน 2021 | 11 | 2019 | ชนะเลิศ (1984, 1988, 1996) |
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ | ชนะเลิศ รอบที่ 2 กลุ่ม จี | 15 มิถุนายน 2021 | 11 | 2019 | รองชนะเลิศ (1996) |
จีน | รองชนะเลิศ รอบที่ 2 กลุ่ม เอ | 15 มิถุนายน 2021 | 13 | 2019 | รองชนะเลิศ (1984, 2004) |
อิรัก | รองชนะเลิศ รอบที่ 2 กลุ่ม ซี | 15 มิถุนายน 2021 | 10 | 2019 | ชนะเลิศ (2007) |
โอมาน | รองชนะเลิศ รอบที่ 2 กลุ่ม อี | 15 มิถุนายน 2021 | 5 | 2019 | รอบ 16 ทีมสุดท้าย (2019) |
เวียดนาม | รองชนะเลิศ รอบที่ 2 กลุ่ม จี | 15 มิถุนายน 2021 | 5 | 2019 | อันดับที่ 4 (1956[a], 1960[a]) |
เลบานอน | รองชนะเลิศ รอบที่ 2 กลุ่ม เอช | 15 มิถุนายน 2021 | 3 | 2019 | รอบแบ่งกลุ่ม (2000, 2019) |
จอร์แดน | ชนะเลิศ รอบที่ 3 กลุ่มเอ | 14 มิถุนายน 2022 | 5 | 2019 | รอบ 16 ทีมสุดท้าย (2004, 2011) |
อินโดนีเซีย | รองชนะเลิศ รอบที่ 3 กลุ่มเอ | 14 มิถุนายน 2022 | 5 | 2007 | รอบแบ่งกลุ่ม (1996, 2000, 2004, 2007) |
ปาเลสไตน์ | ชนะเลิศ รอบที่ 3 กลุ่มบี | 14 มิถุนายน 2022 | 3 | 2019 | รอบแบ่งกลุ่ม (2015, 2019) |
อุซเบกิสถาน | ชนะเลิศ รอบที่ 3 กลุ่มซี | 14 มิถุนายน 2022 | 8 | 2019 | อันดับที่ 4 (2011) |
ไทย | รองชนะเลิศ รอบที่ 3 กลุ่มซี | 14 มิถุนายน 2022 | 8 | 2019 | อันดับที่ 3 (1972) |
อินเดีย | ชนะเลิศ รอบที่ 3 กลุ่มดี | 14 มิถุนายน 2022 | 5 | 2019 | รองชนะเลิศ (1964) |
ฮ่องกง | รองชนะเลิศ รอบที่ 3 กลุ่มดี | 14 มิถุนายน 2022 | 4 | 1968 | อันดับที่ 3 (1956) |
บาห์เรน | ชนะเลิศ รอบที่ 3 กลุ่มอี | 14 มิถุนายน 2022 | 7 | 2019 | อันดับที่ 4 (2004) |
มาเลเซีย | รองชนะเลิศ รอบที่ 3 กลุ่มอี | 14 มิถุนายน 2022 | 4 | 2007 | รอบแบ่งกลุ่ม (1976, 1980, 2007) |
ทาจิกิสถาน | ชนะเลิศ รอบที่ 3 กลุ่มเอฟ | 14 มิถุนายน 2022 | 1 | ครั้งแรก | — |
คีร์กีซสถาน | รองชนะเลิศ รอบที่ 3 กลุ่มเอฟ | 14 มิถุนายน 2022 | 2 | 2019 | รอบ 16 ทีมสุดท้าย (2019) |
การจับสลาก
[แก้]การจับสลากได้จัดขึ้นใน คาตารา โอเปรา เฮ้าส์ ใน โดฮา เมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม ค.ศ. 2023 ณ เวลา 14:00 AST (UTC+3).[9]
โถ 1 | โถ 2 | โถ 3 | โถ 4 |
---|---|---|---|
กาตาร์ (61) (เจ้าภาพ) ญี่ปุ่น (20) อิหร่าน (24) เกาหลีใต้ (27) ออสเตรเลีย (29) ซาอุดีอาระเบีย (54) |
อิรัก (67) สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ (72) โอมาน (73) อุซเบกิสถาน (74) จีน (81) จอร์แดน (84) |
บาห์เรน (85) ซีเรีย (90) ปาเลสไตน์ (93) เวียดนาม (95) คีร์กีซสถาน (96) เลบานอน (99) |
อินเดีย (101) ทาจิกิสถาน (109) ไทย (114) มาเลเซีย (138) ฮ่องกง (147) อินโดนีเซีย (149) |
ผลการจับสลาก
[แก้]แต่ละทีมได้ทำการจับสลากติดต่อกันกลายเป็นกลุ่ม เอ ถึง เอฟ เป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์เอเอฟซี เอเชียนคัพ ทีมที่มาจากโถที่ต่ำที่สุดถูกจับฉลากก่อนแต่ไม่ได้อยู่ในตำแหน่งของกลุ่มของพวกเขาตามด้วยลำดับหมายเลขของรอบแบ่งกลุ่มเหมือนที่เกิดขึ้นในรุ่นก่อนหน้านี้ ทีมจากโถที่ 1 ถูกกำหนดให้อยู่ในตำแหน่งแรกของกลุ่ม ในขณะที่ตำแหน่งถัดไปของทีมอื่นๆ ทั้งหมดจะถูกจับแยกจากโถที่ 4 ไปยังโถที่ 2 (เพื่อจุดประสงค์ในการกำหนดตารางการแข่งขันในแต่ละกลุ่ม)
การจับสลากมีผลออกมาในกลุ่มด้านล่างนี้:
|
|
|
|
|
|
การทำหน้าที่
[แก้]- ผู้ตัดสิน
- Shaun Evans
- Alireza Faghani
- เคต ยาเซวิช
- Fu Ming
- Ma Ning
- Mooud Bonyadifard
- Mohanad Qasim Sarray
- Yusuke Araki
- Jumpei Iida
- Hiroyuki Kimura
- โยชิมิ ยามาชิตะ
- Adham Makhadmeh
- Ahmad Al-Ali
- Abdullah Jamali
- Nazmi Nasaruddin
- Ahmed Al-Kaf
- Abdulrahman Al-Jassim
- Abdulla Al-Marri
- Khamis Al-Marri
- Salman Ahmad Falahi
- Mohammed Al Hoish
- Khalid Al-Turais
- Muhammad Taqi
- Kim Hee-gon
- Kim Jong-hyeok
- Ko Hyung-jin
- Hanna Hattab
- Sadullo Gulmurodi
- ศิวกร ภูอุดม
- Omar Al-Ali
- Adel Al-Naqbi
- Mohammed Abdulla Hassan Mohamed
- Akhrol Riskullaev
- Ilgiz Tantashev
รอบแบ่งกลุ่ม
[แก้]เวลาทั้งหมดคือเวลาท้องถิ่น, AST (UTC+3).
กลุ่ม เอ
[แก้]อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | กาตาร์ | 3 | 3 | 0 | 0 | 5 | 0 | +5 | 9 | ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก |
2 | ทาจิกิสถาน | 3 | 1 | 1 | 1 | 2 | 2 | 0 | 4 | |
3 | จีน | 3 | 0 | 2 | 1 | 0 | 1 | −1 | 2 | |
4 | เลบานอน | 3 | 0 | 1 | 2 | 1 | 5 | −4 | 1 |
จีน | 0–0 | ทาจิกิสถาน |
---|---|---|
รายงาน |
ทาจิกิสถาน | 0–1 | กาตาร์ |
---|---|---|
รายงาน |
|
ทาจิกิสถาน | 2–1 | เลบานอน |
---|---|---|
|
รายงาน |
|
กลุ่ม บี
[แก้]อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | ออสเตรเลีย | 3 | 2 | 1 | 0 | 4 | 1 | +3 | 7 | ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก |
2 | อุซเบกิสถาน | 3 | 1 | 2 | 0 | 4 | 1 | +3 | 5 | |
3 | ซีเรีย | 3 | 1 | 1 | 1 | 1 | 1 | 0 | 4 | |
4 | อินเดีย | 3 | 0 | 0 | 3 | 0 | 6 | −6 | 0 |
อินเดีย | 0–3 | อุซเบกิสถาน |
---|---|---|
รายงาน |
|
กลุ่ม ซี
[แก้]อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | อิหร่าน | 3 | 3 | 0 | 0 | 7 | 2 | +5 | 9 | ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก |
2 | สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ | 3 | 1 | 1 | 1 | 5 | 4 | +1 | 4 | |
3 | ปาเลสไตน์ | 3 | 1 | 1 | 1 | 5 | 5 | 0 | 4 | |
4 | ฮ่องกง | 3 | 0 | 0 | 3 | 1 | 7 | −6 | 0 |
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ | 3–1 | ฮ่องกง |
---|---|---|
|
รายงาน |
|
อิหร่าน | 4–1 | ปาเลสไตน์ |
---|---|---|
|
รายงาน |
|
อิหร่าน | 2–1 | สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ |
---|---|---|
|
รายงาน |
|
กลุ่ม ดี
[แก้]อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | อิรัก | 3 | 3 | 0 | 0 | 8 | 4 | +4 | 9 | ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก |
2 | ญี่ปุ่น | 3 | 2 | 0 | 1 | 8 | 5 | +3 | 6 | |
3 | อินโดนีเซีย | 3 | 1 | 0 | 2 | 3 | 6 | −3 | 3 | |
4 | เวียดนาม | 3 | 0 | 0 | 3 | 4 | 8 | −4 | 0 |
ญี่ปุ่น | 4–2 | เวียดนาม |
---|---|---|
รายงาน |
|
ญี่ปุ่น | 3–1 | อินโดนีเซีย |
---|---|---|
รายงาน | วอลช์ 90+1' |
อิรัก | 3–2 | เวียดนาม |
---|---|---|
รายงาน |
|
กลุ่ม อี
[แก้]อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | บาห์เรน | 3 | 2 | 0 | 1 | 3 | 3 | 0 | 6 | ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก |
2 | เกาหลีใต้ | 3 | 1 | 2 | 0 | 8 | 6 | +2 | 5 | |
3 | จอร์แดน | 3 | 1 | 1 | 1 | 6 | 3 | +3 | 4 | |
4 | มาเลเซีย | 3 | 0 | 1 | 2 | 3 | 8 | −5 | 1 |
เกาหลีใต้ | 3–1 | บาห์เรน |
---|---|---|
|
รายงาน |
|
มาเลเซีย | 0–4 | จอร์แดน |
---|---|---|
รายงาน |
|
เกาหลีใต้ | 3–3 | มาเลเซีย |
---|---|---|
|
รายงาน |
|
จอร์แดน | 0–1 | บาห์เรน |
---|---|---|
รายงาน |
|
กลุ่ม เอฟ
[แก้]อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | ซาอุดีอาระเบีย | 3 | 2 | 1 | 0 | 4 | 1 | +3 | 7 | ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก |
2 | ไทย | 3 | 1 | 2 | 0 | 2 | 0 | +2 | 5 | |
3 | โอมาน | 3 | 0 | 2 | 1 | 2 | 3 | −1 | 2 | |
4 | คีร์กีซสถาน | 3 | 0 | 1 | 2 | 1 | 5 | −4 | 1 |
ไทย | 2–0 | คีร์กีซสถาน |
---|---|---|
|
รายงาน |
ซาอุดีอาระเบีย | 2–1 | โอมาน |
---|---|---|
|
รายงาน |
|
คีร์กีซสถาน | 1–1 | โอมาน |
---|---|---|
|
รายงาน |
|
ตารางคะแนนของทีมอันดับที่ 3
[แก้]ทีมอันดับที่สามที่ดีที่สุดสี่ทีมจากหกกลุ่มจะได้ผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออก พร้อมด้วยทีมชนะเลิศหกกลุ่มและหกทีมรองชนะเลิศ.
อันดับ | กลุ่ม | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | อี | จอร์แดน | 3 | 1 | 1 | 1 | 6 | 3 | +3 | 4 | ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก |
2 | ซี | ปาเลสไตน์ | 3 | 1 | 1 | 1 | 5 | 5 | 0 | 4 | |
3 | บี | ซีเรีย | 3 | 1 | 1 | 1 | 1 | 1 | 0 | 4 | |
4 | ดี | อินโดนีเซีย | 3 | 1 | 0 | 2 | 3 | 6 | −3 | 3 | |
5 | เอฟ | โอมาน | 3 | 0 | 2 | 1 | 2 | 3 | −1 | 2 | |
6 | เอ | จีน | 3 | 0 | 2 | 1 | 0 | 1 | −1 | 2 |
กฏการจัดอันดับ: 1) คะแนน; 2) ผลต่างประตู; 3) จำนวนประตูที่ทำได้; 4) คะแนนรวมทางวินัยที่ต่ำสุด; 5) จับสลาก.[11]
รอบแพ้คัดออก
[แก้]สายการแข่งขัน
[แก้]เวลาทั้งหมดคือเวลาท้องถิ่น, AST (UTC+3).
รอบ 16 ทีมสุดท้าย
[แก้]ออสเตรเลีย | 4–0 | อินโดนีเซีย |
---|---|---|
|
รายงาน |
ทาจิกิสถาน | 1–1 (ต่อเวลาพิเศษ) | สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ |
---|---|---|
|
รายงาน |
|
ลูกโทษ | ||
5–3 |
อุซเบกิสถาน | 2–1 | ไทย |
---|---|---|
|
รายงาน |
|
ซาอุดีอาระเบีย | 1–1 (ต่อเวลาพิเศษ) | เกาหลีใต้ |
---|---|---|
|
รายงาน |
|
ลูกโทษ | ||
2–4 |
รอบ 8 ทีมสุดท้าย
[แก้]ทาจิกิสถาน | 0–1 | จอร์แดน |
---|---|---|
รายงาน |
|
ออสเตรเลีย | 1–2 (ต่อเวลาพิเศษ) | เกาหลีใต้ |
---|---|---|
|
รายงาน |
|
กาตาร์ | 1–1 (ต่อเวลาพิเศษ) | อุซเบกิสถาน |
---|---|---|
|
รายงาน |
|
ลูกโทษ | ||
3–2 |
รอบรองชนะเลิศ
[แก้]รอบชิงชนะเลิศ
[แก้]สถิติ
[แก้]ผู้ทำประตูสูงสุด
[แก้]มีการทำประตู 132 ประตู จากการแข่งขัน 51 นัด เฉลี่ย 2.59 ประตูต่อนัด
การทำประตู 8 ครั้ง
การทำประตู 6 ครั้ง
การทำประตู 4 ครั้ง
การทำประตู 3 ครั้ง
การทำประตู 2 ครั้ง
การทำประตู 1 ครั้ง
- จอร์แดน บอส
- แฮร์รี ซูททาร์
- อับดุลเลาะฮ์ อัล-แฮชแอช
- อับดุลเลาะ ยูซุฟ เฮลาล
- อะลี มะดาน
- ชาน ซิว ควาน
- มาร์เซลีโน เฟอร์ดินาน
- อัสนาวี มังคูอาลัม
- แซนดี วอลช์
- การีม อันซารีฟาร์ด
- โชแจ คาลีลซาเดห์
- โมฮัมหมัด โมเฮบี
- โมฮาหนัด อะลี
- ซาอัด นาติค
- โอซามา ราชิด
- รีบีน ซูลากอ
- ริตสึ โดอัง
- วาตารุ เอ็นโด
- ทาเคฟุซะ คูโบะ
- ฮิเดมาซะ โมริตะ
- เคอิโตะ นากามูระ
- ยะซัน อาล-อารับ
- นิซาร์ อาล-รัชดาน
- โจเอล โคโจ
- บัสเซล จราดี
- อาริฟ ไอมาน
- ไฟซาล ฮาลิม
- โรเมล โมราเลส
- มูห์เซน อาล-กัสซานี
- เศาะลาห์ อาล ยะห์ยาอี
- ซาอิด ควุนบาร์
- แทแมร์ แซยัม
- จัสเซ็ม กาเบอร์
- อะลี อาล บุลัยฮี
- ไฟซาล อาล-กัมดี
- อับดุรเราะห์มาน เฆาะรีบ
- มุฮัมเหม็ด คันโน
- อับดุลเลาะฮ์ ระดิฟ
- โช กยู-ซ็อง
- ฮวัง ฮี-ชัน
- ฮวัง อิน-บ็อม
- จ็อง อู-ย็อง
- วาห์ดัต ฮาโนนอฟ
- นูริดดิน คัมโรคูลอฟ
- ปาร์วิซจอน อูมาร์บาเยฟ
- สุภโชค สารชาติ
- เคาะลีเฟาะ อาล ฮัมมาดี
- ซาเย็ด ซุลตัน
- โอดิลจอน ฮัมโรเบคอฟ
- เชอร์ซอด นัสรุลลาเอฟ
- อิกอร์ เซอร์เกเอฟ
- บุย เฮือง เวียต อัญห์
- Nguyễn Đình Bắc
- เหงียน กวาง หาย
- Phạm Tuấn Hải
การทำเข้าประตูตัวเอง 1 ครั้ง
- เอ็ลกัน แบ็กก็อตต์ (ในนัดที่พบกับ ออสเตรเลีย)
- จัสติน ฮุบเนอร์ (ในนัดที่พบกับ ญี่ปุ่น)
- อายาเซะ อูเอดะ (ในนัดที่พบกับ บาห์เรน)
- ยะซัน อัล-อารับ (ในนัดที่พบกับ เกาหลีใต้)
- พัก ย็อง-อู (ในนัดที่พบกับ จอร์แดน)
- วาห์ดัต ฮาโนนอฟ (ในนัดที่พบกับ จอร์แดน)
- บาเดอร์ นัสเซอร์ (ในนัดที่พบกับ ปาเลสไตน์)
การถ่ายทอดสด
[แก้]หมายเหตุ
[แก้]อ้างอิง
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 "AFC Asian Cup China 2023 competition dates confirmed". Asian Football Confederation. 7 January 2021. สืบค้นเมื่อ 7 January 2021.
- ↑ "Super Afif named MVP, wins Yili Top Scorer Award". Asian Football Confederation. 10 February 2024. สืบค้นเมื่อ 10 February 2024.
- ↑ "Qatar's Barsham takes Best Goalkeeper honour". Asian Football Confederation. 10 February 2024. สืบค้นเมื่อ 10 February 2024.
- ↑ "Important update on AFC Asian Cup 2023™ hosts". Asian Football Confederation. 14 May 2022. สืบค้นเมื่อ 14 May 2022.
- ↑ "AFC Asian Cup China 2023 Competition Regulations". AFC.
- ↑ Palmer, Dan (31 July 2017). "Hosts Qatar to compete in qualifying for 2022 World Cup". insidethegames.biz. สืบค้นเมื่อ 20 August 2017.
- ↑ "Federacao Futebol Timor-Leste expelled from AFC Asian Cup 2023". The-AFC.com. 20 January 2017.
- ↑ "Road to Qatar 2022: Asian teams discover Round 1 opponents". Asian Football Confederation. 17 April 2019. สืบค้นเมื่อ 23 May 2019.
- ↑ "Seeding for AFC Asian Cup Qatar 2023™ Final Draw confirmed". the-AFC (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2023-04-07.
- ↑ "FIFA World Rankings". FIFA. 6 April 2023.
- ↑ "AFC Competition Operations Manual (Edition 2023)" (PDF). Asian Football Confederation.
- ↑ "AFC Asian Cup Qatar™ 2023 Match Officials - Final 10 February" (PDF). Asian Football Confederation. สืบค้นเมื่อ 8 February 2024.
- ↑ 13.00 13.01 13.02 13.03 13.04 13.05 13.06 13.07 13.08 13.09 13.10 13.11 13.12 13.13 13.14 13.15 13.16 13.17 13.18 13.19 13.20 13.21 13.22 13.23 13.24 13.25 13.26 13.27 13.28 13.29 13.30 13.31 13.32 13.33 "OFFICIAL BROADCASTERS". AFC. สืบค้นเมื่อ 5 January 2024.
- ↑ 14.0 14.1 14.2 14.3 14.4 14.5 14.6 14.7 "AFC signs media rights deal with TV Start in Russia and CIS". the-AFC (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2023-11-25.
- ↑ "Guide: AFC Competitions on 10 Play and Paramount+". 10play.com.au. 27 September 2023. สืบค้นเมื่อ 24 November 2023.
- ↑ 16.0 16.1 16.2 16.3 16.4 "AFC expands media partnership with Sportdigital to cover the AFC Asian Cup Qatar 2023™ in Germany, Austria and Switzerland". AFC. สืบค้นเมื่อ 25 November 2023.
- ↑ "AFC agrees rights deal with T Sports in Bangladesh". AFC. สืบค้นเมื่อ 25 November 2023.
- ↑ 18.0 18.1 18.2 "AFC agrees media rights deal with Football Sports Development Limited in the Indian Subcontinent". the-AFC (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2023-11-25.
- ↑ 19.0 19.1 19.2 19.3 19.4 19.5 19.6 "AFC competitions to be broadcast in Southeast Europe for the first time". the-AFC (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2023-11-25.
- ↑ 20.0 20.1 20.2 "AFC agrees media rights deal with ESPN exclusively in Latin America, Central America and non-exclusively in the Caribbean". AFC. สืบค้นเมื่อ 25 November 2023.
- ↑ 21.0 21.1 "AFC signs rights deal with KJSMWorld Corp". the-AFC (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2023-11-25.
- ↑ 22.0 22.1 22.2 "AFC confirms exclusive media rights deal with CBS Sports". AFC. สืบค้นเมื่อ 24 November 2023.
- ↑ "AFC announces new media rights deal in China PR". the-AFC (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2023-11-25.
- ↑ "央视直播国足揭幕战,三大强援健康归来,后防重组开门红概率不小". qq.com. 2023-12-10. สืบค้นเมื่อ 2024-01-07.
- ↑ 25.0 25.1 "AFC continues partnership with MNC". the-AFC (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2023-11-25.
- ↑ 26.0 26.1 "AFC agrees media rights deal with C More in Sweden and Finland". the-AFC (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2023-11-25.
- ↑ 27.0 27.1 "AFC Asian Cup - Where to Watch". the-AFC (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2024-01-06.
- ↑ "亞洲盃|HOY TV落實直播51場決賽周賽事 包括港足3場分組賽 (21:05)". Mingpao.com (ภาษาจีน). 2023-12-21. สืบค้นเมื่อ 2023-12-25.
- ↑ "AFC Confirms Media Rights Deal With Sport 24 To Broadcast AFC's National And Club Competitions | Sport 24". sport24live.com (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2023-11-25.
- ↑ "AFC confirms media rights deal with PRO Company in Iraq". AFC. สืบค้นเมื่อ 25 November 2023.
- ↑ "AFCアジアカップ2023 出場国・組み合わせ・試合日程・放送予定【PR】" (ภาษาญี่ปุ่น). DAZN. 13 May 2023. สืบค้นเมื่อ 24 November 2023.
- ↑ "AFC アジアカップ カタール 2023". TV Asahi. 5 January 2024. สืบค้นเมื่อ 5 January 2024.
- ↑ "AFC signs rights deal with Saran Media International". the-AFC (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2023-11-25.
- ↑ "AFC 2022-2024 宣傳片". Facebook (ภาษาจีน). สืบค้นเมื่อ 2023-12-13.
- ↑ [Promo] Astro Arena Bola & Astro SuperSport | AFC Asian CUP QATAR (2023) (ภาษาอังกฤษ), สืบค้นเมื่อ 2024-01-04
- ↑ RTM penyiar rasmi Piala Asia Qatar 2023 (ภาษามาเลย์), สืบค้นเมื่อ 2024-01-05
- ↑ "AFC agrees media rights deal with PSM in Maldives". the-AFC (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2023-11-25.
- ↑ "AFC and beIN MEDIA GROUP agree landmark new long-term deal in MENA up to 2032". สืบค้นเมื่อ 2023-11-30.
- ↑ "Live Asian Cup of Nations on TV". soccersat.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2024-01-10. สืบค้นเมื่อ 2024-01-10.
- ↑ "AFC signs rights deal with Unitel in Mongolia". the-AFC (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2023-11-25.
- ↑ "AFC confirms rights deal with CANAL+ Myanmar Ltd". the-AFC (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2023-11-25.
- ↑ "AFC Asian Cup - Where to Watch". the-AFC (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2024-01-12.
- ↑ "AFC Asian Cup Qatar 2023 se vede în AntenaPLAY". Antena Play. สืบค้นเมื่อ 5 January 2024.
- ↑ Nicholson, Paul (6 April 2021). "Saudi Sports Company wins AFC media rights in regional new deal". Inside World Football. สืบค้นเมื่อ 24 November 2021.
- ↑ "AFC announces new media rights deal with CJ ENM in Korea Republic". AFC. สืบค้นเมื่อ 25 November 2023.
- ↑ "[보도자료] 쿠팡플레이, 2023 카타르 아시안컵 전 경기 디지털 생중계!" [[Press Release] Coupang Play, digital live broadcast of all 2023 Qatar Asian Cup matches!]. Coupang. สืบค้นเมื่อ 5 January 2024.
- ↑ "AFC agrees rights with ELTA in Chinese Taipei". AFC. สืบค้นเมื่อ 25 November 2023.
- ↑ AFC ยืนยัน PPTV HD 36-T Sports 7 ถ่ายทอดสดเอเชียน คัพ 2023
- ↑ "AFC agrees rights deal with Abu Dhabi Media in the United Arab Emirates". AFC. สืบค้นเมื่อ 25 November 2023.
- ↑ "FPT Telecom acquires screening rights for major Asian football tournaments". VnExpress. สืบค้นเมื่อ 24 November 2023.
- ↑ VTV, BAO DIEN TU (2024-01-10). "VTV trực tiếp toàn bộ các trận đấu tại VCK Asian Cup 2023". BAO DIEN TU VTV (ภาษาเวียดนาม). สืบค้นเมื่อ 2024-01-10.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- AFC Asian Cup, the-AFC.com