ข้ามไปเนื้อหา

ฟุตบอลโลก 2022 รอบคัดเลือก โซนเอเชีย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ฟุตบอลโลก 2022 รอบคัดเลือก โซนเอเชีย
รายละเอียดการแข่งขัน
วันที่6 มิถุนายน 2562 – มีนาคม 2565
ทีม46 (จาก 1 สมาพันธ์)
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน174
จำนวนประตู560 (3.22 ประตูต่อนัด)
ผู้ชม1,690,629 (9,716 คนต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ Ali Mabkhout (11 ประตู)
2018
2026
ปรับปรุงสถิติทั้งหมด ณ วันที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2564

การแข่งขันฟุตบอลโลก 2022 รอบคัดเลือก โซนเอเชีย เป็นการแข่งขันฟุตบอลในทวีปเอเชียเพื่อคัดเลือกทีมฟุตบอลเข้าแข่งขันฟุตบอลโลก 2022 รอบสุดท้ายที่ประเทศกาตาร์ ซึ่งอยู่ภายใต้การดูแลของสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย โดยโซนเอเชียได้รับโควตาทั้งหมด 4 ทีม กับอีก 1 ทีมที่มีสิทธิ์ไปแข่งรอบเพลย์ออฟกับทีมจากโซนอื่น ๆ

การแข่งขัน

[แก้]

The qualification structure is as follows:[1]

  • รอบแรก : มี 12 ทีม (ทีมอันดับ 35-46) จับคู่แข่งขันแบบเหย้า-เยือน 2 นัด หาทีมชนะ 6 ทีมผ่านเข้าสู่รอบต่อไป
  • รอบสอง : มี 40 ทีม (ทีมอันดับ 1-34 และ 6 ทีมที่ผ่านรอบแรก) มาแบ่งเป็น 8 กลุ่ม กลุ่มละ 5 ทีม แข่งขันแบบพบกันหมด เหย้า-เยือน คัดผู้ชนะของแต่ละกลุ่ม มี 8 ทีม รวมกับทีมอันดับสองที่มีผลงานดีที่สุดอีก 4 ทีมผ่านเข้ารอบสามต่อไป
  • รอบสาม : จากการแข่งขันรอบสอง จะมี 12 ทีมที่ผ่านเข้ามาถึงรอบนี้ โดยจะแบ่งเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มละ 6 ทีม แข่งขันแบบพบกันหมด เหย้า-เยือน ทีมอันดับ 1 และ 2 ของแต่ละกลุ่มจะผ่านเข้าไปเล่นฟุตบอลโลก 2022 ที่ประเทศกาตาร์ ส่วนอันดับ 3 ของทั้งแต่ละกลุ่มจะไปเล่นในรอบสี่ ทั้ง 12 ทีมที่ผ่านเข้ามาถึงรอบสุดท้ายจะได้เข้าแข่งรอบเพลย์ออฟโดยอัตโนมัติ ส่วนทีมที่เหลือก็ให้แข่งกันไปเรื่อย ๆ จะรวมกันได้ 24 ทีม

การแข่งขันรอบคัดเลือกฟุตบอลโลกครั้งนี้จะเป็นการหาทีมที่ผ่านเข้าไปแข่งขันเอเชียนคัพ 2023 ไปในตัวด้วย[2]

การจัดอันดับ

[แก้]
อันดับโลกฟีฟ่า ณ เดือนเมษายน ค.ศ. พ.ศ. 2562
ผ่านไปเล่นในรอบสอง
(อันดับที่ 1 ถึง 34)
ต้องแข่งในรอบแรก
(อันดับที่ 35 ถึง 46)

ปฏิทินการแข่งขัน

[แก้]

นี่คือปฏิทินการแข่งขัน ของฟุตบอลโลก 2022 รอบคัดเลือก โซนเอเชีย.[3][4][5]

รอบ การแข่งขัน วันที่
รอบแรก นัดที่ 1 6 มิถุนายน พ.ศ. 2562
นัดที่ 2 11 มิถุนายน พ.ศ. 2562
รอบที่ 2 วันแข่งขันที่ 1 5 กันยายน พ.ศ. 2562
วันแข่งขันที่ 2 10 กันยายน พ.ศ. 2562
วันแข่งขันที่ 3 10 ตุลาคม พ.ศ. 2562
วันแข่งขันที่ 4 15 ตุลาคม พ.ศ. 2562
วันแข่งขันที่ 5 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562
วันแข่งขันที่ 6 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562
วันแข่งขันที่ 7 26 มีนาคม พ.ศ. 2563
วันแข่งขันที่ 8 31 มีนาคม พ.ศ. 2563
วันแข่งขันที่ 9 4 มิถุนายน พ.ศ. 2563
วันแข่งขันที่ 10 9 มิถุนายน พ.ศ. 2563
รอบ การแข่งขัน วันที่
รอบที่ 3 วันแข่งขันที่ 1 3 กันยายน พ.ศ. 2563
วันแข่งขันที่ 2 8 กันยายน พ.ศ. 2563
วันแข่งขันที่ 3 13 ตุลาคม พ.ศ. 2563
วันแข่งขันที่ 4 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2563
วันแข่งขันที่ 5 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2563
วันแข่งขันที่ 6 25 มีนาคม พ.ศ. 2564
วันแข่งขันที่ 7 30 มีนาคม พ.ศ. 2564
วันแข่งขันที่ 8 8 มิถุนายน พ.ศ. 2564
วันแข่งขันที่ 9 7 กันยายน พ.ศ. 2564
วันแข่งขันที่ 10 12 ตุลาคม พ.ศ. 2564
รอบที่ 4 นัดที่ 1 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564
นัดที่ 2 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564

รอบที่ 1

[แก้]
ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง   นัดแรก     นัดที่สอง  
มองโกเลีย ธงชาติมองโกเลีย 3–2 ธงชาติบรูไน บรูไน 2–0 1–2
มาเก๊า ธงชาติมาเก๊า 1–3[note 1] ธงชาติศรีลังกา ศรีลังกา 1–0 0–3 (awd.)
ลาว ธงชาติลาว 0–1 ธงชาติบังกลาเทศ บังกลาเทศ 0–1 0–0
มาเลเซีย ธงชาติมาเลเซีย 12–2 ธงชาติติมอร์-เลสเต ติมอร์-เลสเต 7–1 5–1
กัมพูชา ธงชาติกัมพูชา 4–1 ธงชาติปากีสถาน ปากีสถาน 2–0 2–1
ภูฏาน ธงชาติภูฏาน 1–5 ธงชาติกวม กวม 1–0 0–5


รอบที่ 2

[แก้]

การจับสลากแบ่งสายสำหรับรอบที่ 2 ได้จัดขึ้นเมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 เวลา 17:00 MST (UTC+8), ที่เอเอฟซี เฮ้าส์ ใน กัวลาลัมเปอร์, มาเลเซีย.[9]

การจัดโถทีมวางขึ้นอยู่กับ อันดับโลกฟีฟ่า เมื่อเดือนมิถุนายน 2562.[10]

โถ 1 โถ 2 โถ 3
โถ 4 โถ 5

กลุ่ม เอ

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ธงชาติซีเรีย ซีเรีย 8 7 0 1 22 7 +15 21 รอบที่ 3 และ เอเชียนคัพ 2–1 1–0 2–1 4–0
2 ธงชาติจีน จีน 8 6 1 1 30 3 +27 19 รอบที่ 3[a] 3–1 2–0 5–0 7–0
3 ธงชาติฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์ 8 3 2 3 12 11 +1 11 เอเชียนคัพ รอบคัดเลือก รอบที่ 3 2–5 0–0 1–1 3–0
4 Flag of the Maldives มัลดีฟส์ 8 2 1 5 7 20 −13 7 เอเชียนคัพ รอบคัดเลือก รอบเพลย์ออฟ. 0–4 0–5 1–2 3–1
5 ธงชาติกวม กวม 8 0 0 8 2 32 −30 0 0–3 0–7 1–4 0–1
แหล่งที่มา : ฟีฟ่า
หมายเหตุ :
  1. จีนได้ผ่านเข้าสู่เอเชียนคัพในฐานะชาติเจ้าภาพ.

กลุ่ม บี

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย 8 8 0 0 28 2 +26 24 รอบที่ 3 และ เอเชียนคัพ 3–0 1–0 5–0 5–1
2 ธงชาติคูเวต คูเวต 8 4 2 2 19 7 +12 14 เอเชียนคัพ รอบคัดเลือก รอบที่ 3 0–3 0–0 7–0 9–0
3 ธงชาติจอร์แดน จอร์แดน 8 4 2 2 13 3 +10 14 0–1 0–0 3–0 5–0
4 ธงชาติเนปาล เนปาล 8 2 0 6 4 22 −18 6 เอเชียนคัพ รอบคัดเลือก รอบเพลย์ออฟ 0–3 0–1 0–3 2–0
5 ธงชาติจีนไทเป จีนไทเป 8 0 0 8 4 34 −30 0 1–7 1–2 1–2 0–2
แหล่งที่มา : ฟีฟ่า

กลุ่ม ซี

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน 8 6 0 2 34 4 +30 18 รอบที่ 3 และ เอเชียนคัพ 1–0 3–0 3–1 14–0
2 ธงชาติอิรัก อิรัก 8 5 2 1 14 4 +10 17 2–1 0–0 2–0 4–1
3 ธงชาติบาห์เรน บาห์เรน 8 4 3 1 15 4 +11 15 เอเชียนคัพ รอบคัดเลือก รอบที่ 3 1–0 1–1 4–0 8–0
4 ธงชาติฮ่องกง ฮ่องกง 8 1 2 5 4 13 −9 5 เอเชียนคัพ รอบคัดเลือก รอบเพลย์ออฟ 0–2 0–1 0–0 2–0
5 ธงชาติกัมพูชา กัมพูชา 8 0 1 7 2 44 −42 1 0–10 0–4 0–1 1–1
แหล่งที่มา : เอเอฟซี

กลุ่ม ดี

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ธงชาติซาอุดีอาระเบีย ซาอุดีอาระเบีย 8 6 2 0 22 4 +18 20 รอบที่ 3 และ เอเชียนคัพ 3–0 5–0 3–0 3–0
2 ธงชาติอุซเบกิสถาน อุซเบกิสถาน 8 5 0 3 18 9 +9 15 เอเชียนคัพ รอบคัดเลือก รอบที่ 3 2–3 2–0 5–0 5–0
3 ธงชาติรัฐปาเลสไตน์ ปาเลสไตน์ 8 3 1 4 10 10 0 10 0–0 2–0 4–0 3–0
4 ธงชาติสิงคโปร์ สิงคโปร์ 8 2 1 5 7 22 −15 7 0–3 1–3 2–1 2–2
5 ธงชาติเยเมน เยเมน 8 1 2 5 6 18 −12 5 เอเชียนคัพ รอบคัดเลือก รอบเพลย์ออฟ 2–2 0–1 1–0 1–2
แหล่งที่มา : ฟีฟ่า

กลุ่ม อี

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ ประเทศกาตาร์ โอมาน อินเดีย อัฟกานิสถาน บังกลาเทศ
1 ธงชาติประเทศกาตาร์ กาตาร์ 8 7 1 0 18 1 +17 22 เอเชียนคัพ 2–1 0–0 6–0 5–0
2 ธงชาติโอมาน โอมาน 8 6 0 2 16 6 +10 18 รอบที่ 3 และ เอเชียนคัพ 0–1 1–0 3–0 4–1
3 ธงชาติอินเดีย อินเดีย 8 1 4 3 6 7 −1 7 เอเชียนคัพ รอบคัดเลือก รอบที่ 3 0–1 1–2 1–1 1–1
4 ธงชาติอัฟกานิสถาน อัฟกานิสถาน 8 1 3 4 5 15 −10 6 0–1 1–2 1–1 1–0
5 ธงชาติบังกลาเทศ บังกลาเทศ 8 0 2 6 3 19 −16 2 เอเชียนคัพ รอบคัดเลือก รอบเพลย์ออฟ 0–2 0–3 0–2 1–1
แหล่งที่มา : ฟีฟ่า

กลุ่ม เอฟ

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น 8 8 0 0 46 2 +44 24 รอบที่ 3 และ เอเชียนคัพ 4–1 5–1 6–0 10–0
2 ธงชาติทาจิกิสถาน ทาจิกิสถาน 8 4 1 3 14 12 +2 13 รอบที่ 3 และ เอเชียนคัพ หรือ เอเชียนคัพ รอบคัดเลือก รอบที่ 3[a] 0–3 1–0 3–0 4–0
3 ธงชาติคีร์กีซสถาน คีร์กีซสถาน 8 3 1 4 19 12 +7 10 เอเชียนคัพ รอบคัดเลือก รอบที่ 3 0–2 1–1 0–1 7–0
4 ธงชาติมองโกเลีย มองโกเลีย 8 2 0 6 3 27 −24 6 0–14 0–1 1–2 1–0
5 ธงชาติประเทศพม่า พม่า 8 2 0 6 6 35 −29 6 เอเชียนคัพ รอบคัดเลือก รอบเพลย์ออฟ 0–2 4–3 1–8 1–0
แหล่งที่มา : ฟีฟ่า
หมายเหตุ :
  1. ทีมรองชนะเลิศที่ดีที่สุดห้าทีมของแต่ละกลุ่มจะได้ผ่านเข้า รอบที่ 3 และ เอเชียนคัพ. ส่วนทีมรองชนะเลิศที่เหลืออีกสามทีมจะได้ผ่านเข้าสู่ เอเชียนคัพ รอบคัดเลือก รอบที่ 3

กลุ่ม จี

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 Flag of the United Arab Emirates สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ 8 6 0 2 23 7 +16 18 รอบที่ 3 และ เอเชียนคัพ 3–2 4–0 3–1 5–0
2 ธงชาติเวียดนาม เวียดนาม 8 5 2 1 13 5 +8 17 1–0 1–0 0–0 4–0
3 ธงชาติมาเลเซีย มาเลเซีย 8 4 0 4 10 12 −2 12 เอเชียนคัพ รอบคัดเลือก รอบที่ 3 1–2 1–2 2–1 2–0
4 ธงชาติไทย ไทย 8 2 3 3 9 9 0 9 2–1 0–0 0–1 2–2
5 ธงชาติอินโดนีเซีย อินโดนีเซีย 8 0 1 7 5 27 −22 1 เอเชียนคัพ รอบคัดเลือก รอบเพลย์ออฟ 0–5 1–3 2–3 0–3
แหล่งที่มา : ฟีฟ่า

กลุ่ม เอช

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ เกาหลีใต้ เลบานอน เติร์กเมนิสถาน ศรีลังกา เกาหลีเหนือ
1 ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ 6 5 1 0 22 1 +21 16 รอบที่ 3 และ เอเชียนคัพ 2–1 5–0 8–0 7 มิ.ย.
2 ธงชาติเลบานอน เลบานอน 6 3 1 2 11 8 +3 10 รอบที่ 3 และ เอเชียนคัพ รอบคัดเลือก รอบที่ 3 0–0 2–1 3–2 0–0
3 ธงชาติเติร์กเมนิสถาน เติร์กเมนิสถาน 6 3 0 3 8 11 −3 9 เอเชียนคัพ รอบคัดเลือก รอบที่ 3 0–2 3–2 2–0 3–1
4 ธงชาติศรีลังกา ศรีลังกา 6 0 0 6 2 23 −21 0 เอเชียนคัพ รอบคัดเลือก รอบเพลย์ออฟ. 0–5 0–3 0–2 0–1
5 ธงชาติเกาหลีเหนือ เกาหลีเหนือ 0 0 0 0 0 0 0 0 ถอนทีม 0–0 2–0 15 มิ.ย. 3 มิ.ย.
แหล่งที่มา : ฟีฟ่า

รอบที่ 3

[แก้]

รอบที่ 3 แบ่งออกเป็นสองกลุ่มที่มีหกทีม. สองทีมแรกในแต่ละกลุ่มจะได้ผ่านเข้ารอบสำหรับฟุตบอลโลก. ทีมอันดับที่สามสองทีมผ่านเข้าสู่รอบที่สี่. การจับสลากได้จัดขึ้นไปเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม ค.ศ. 2021 ในประเทศมาเลเซีย.

กลุ่ม เอ

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน 10 8 1 1 15 4 +11 25 ผ่านเข้าสู่ ฟุตบอลโลก 2022 1–1 1–0 1–0 1–0 2–0
2 ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ 10 7 2 1 13 3 +10 23 2–0 1–0 0–0 2–1 1–0
3 Flag of the United Arab Emirates สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ 10 3 3 4 7 7 0 12 ผ่านเข้าสู่ รอบที่ 4 0–1 1–0 2–2 2–0 0–0
4 ธงชาติอิรัก อิรัก 10 1 6 3 6 12 −6 9 0–3 0–3 1–0 1–1 0–0
5 ธงชาติซีเรีย ซีเรีย 10 1 3 6 9 16 −7 6 0–3 0–2 1–1 1–1 2–3
6 ธงชาติเลบานอน เลบานอน 10 1 3 6 5 13 −8 6 1–2 0–1 0–1 1–1 0–3
แหล่งที่มา : ฟีฟ่า
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไข

กลุ่ม บี

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ธงชาติซาอุดีอาระเบีย ซาอุดีอาระเบีย 10 7 2 1 12 6 +6 23 ผ่านเข้าสู่ ฟุตบอลโลก 2022 1–0 1–0 1–0 3–2 3–1
2 ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น 10 7 1 2 12 4 +8 22 2–0 2–1 0–1 2–0 1–1
3 ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย 10 4 3 3 15 9 +6 15 ผ่านเข้าสู่ รอบที่ 4 0–0 0–2 3–1 3–0 4–0
4 ธงชาติโอมาน โอมาน 10 4 2 4 11 10 +1 14 0–1 0–1 2–2 2–0 3–1
5 ธงชาติจีน จีน 10 1 3 6 9 19 −10 6 1–1 0–1 1–1 1–1 3–2
6 ธงชาติเวียดนาม เวียดนาม 10 1 1 8 8 19 −11 4 0–1 0–1 0–1 0–1 3–1
แหล่งที่มา : ฟีฟ่า
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไข

รอบที่ 4

[แก้]
ทีมหนึ่ง  ผล  ทีมสอง
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ Flag of the United Arab Emirates 1–2 ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย


รอบเพลย์ออฟข้ามทวีป

[แก้]
ทีมหนึ่ง  ผล  ทีมสอง
ออสเตรเลีย ธงชาติออสเตรเลีย 0–0
(ต่อเวลา)
(ดวลลูกโทษ 5–4)
ธงชาติเปรู เปรู


ทีมที่ผ่านเข้ารอบ

[แก้]

ด้านล่างนี้คือทีมที่มาจากเอเอฟซีที่ได้สิทธิ์สำหรับรอบสุดท้าย.

ทีม ได้สิทธิ์ในฐานะ วันที่ผ่านเข้ารอบ ครั้งที่ผ่านมา การลงสนาม ใน ฟุตบอลโลก1
ธงชาติประเทศกาตาร์ กาตาร์ เจ้าภาพ 2 ธันวาคม ค.ศ. 2010 0 (ครั้งแรก)
ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน รอบที่ 3 กลุ่ม เอ สองทีมที่ดีที่สุด 27 มกราคม ค.ศ. 2022 5 (1978, 1998, 2006, 2014, 2018)
ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ รอบที่ 3 กลุ่ม เอ สองทีมที่ดีที่สุด 1 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2022 10 (1954, 1986, 1990, 1994, 1998, 2002, 2006, 2010, 2014, 2018)
ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น รอบที่ 3 กลุ่ม บี สองทีมที่ดีที่สุด 24 มีนาคม ค.ศ. 2022 6 (1998, 2002, 2006, 2010, 2014, 2018)
ธงชาติซาอุดีอาระเบีย ซาอุดีอาระเบีย รอบที่ 3 กลุ่ม บี สองทีมที่ดีที่สุด 24 มีนาคม ค.ศ. 2022 5 (1994, 1998, 2002, 2006, 2018)
1 ตัวเอียง หมายถึงเจ้าภาพสำหรับปีนั้น.

ดูเพิ่ม

[แก้]

หมายเหตุ

[แก้]
  1. Macau did not send their team for the second leg due to safety reasons following the 2019 Sri Lanka Easter bombings.[6] The AFC referred the matter to FIFA,[7] and FIFA announced on 27 June 2019 that the match was declared a 3–0 forfeit victory to Sri Lanka, and consequently qualifying Sri Lanka to the second round.[8]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Pakistan to learn World Cup, Asian Cup qualifying fate on April 17". Dawn.com. 22 March 2019.
  2. ไทยเริ่มรอบสอง! เอเอฟซีเผยขั้นตอนคัดบอลโลก 2018-เอเชียนคัพ 2019
  3. "AFC Competitions Calendar 2019". AFC. 21 March 2019. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2018-10-09. สืบค้นเมื่อ 2019-07-17.
  4. "AFC Competitions Calendar 2020" (PDF). AFC. 15 May 2019.
  5. "AFC Competitions Calendar 2021" (PDF). AFC. 21 March 2019.
  6. "Football - Macau not sending team to Sri Lanka due to security concerns". Reuters. 8 June 2019. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-06-27. สืบค้นเมื่อ 2019-07-17.
  7. "AFC Statement". AFC. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-06-27. สืบค้นเมื่อ 10 June 2019.
  8. "FIFA Disciplinary Committee sanctions Macau Football Association". FIFA.com. 27 June 2019.
  9. Asian Qualifiers draw to provide pathway to Qatar and China เก็บถาวร 2019-07-17 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, Asian Football Confederation official website, 17 June 2019
  10. "FIFA Men's Ranking – June 2019 (AFC)". FIFA.com. 14 June 2019. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-06-16. สืบค้นเมื่อ 2019-07-17.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]