ข้ามไปเนื้อหา

ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก
logo
ผู้จัดฟีฟ่า
ก่อตั้ง2000; 25 ปีที่แล้ว (2000)
ภูมิภาคนานาชาติ
จำนวนทีม32 ทีม
(จาก 6 สมาพันธ์)
ทีมชนะเลิศปัจจุบันประเทศอังกฤษ แมนเชสเตอร์ซิตี
(1 สมัย)
ทีมที่ประสบความสำเร็จที่สุดประเทศสเปน เรอัลมาดริด
(5 สมัย)
ผู้แพร่ภาพโทรทัศน์รายชื่อผู้แพร่ภาพโทรทัศน์
เว็บไซต์fifa.com/clubworldcup
ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก 2025

ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก (อังกฤษ: FIFA Club World Championship) หรือ ฟีฟ่าคลับเวิลด์คัพ (อังกฤษ: FIFA Club World Cup)[1][2] เป็นการแข่งขันฟุตบอลระหว่างทีมสโมสรของแต่ละสมาพันธ์ฟุตบอลจาก 6 ทวีปทั่วโลก เริ่มทำการแข่งขันครั้งแรกในปี ค.ศ. 2000 ที่ประเทศบราซิล ในนาม ฟีฟ่าคลับเวิลด์แชมเปียนชิป โดยฟีฟ่าได้จัดตั้งการแข่งขันรายการนี้ขึ้นเพื่อใช้แทนการแข่งขันรายการเดิมที่ชื่อ อินเตอร์คอนติเนนตัลคัพ หรือโตโยต้าคัพซึ่งถูกยกเลิกในปี ค.ศ. 2004 เพื่อมารวมรายการนี้ ในปี ค.ศ. 2005 ในนาม ฟีฟ่าคลับเวิลด์คัพ ทีมที่ชนะเลิศจากทุกทวีปที่จะมาแข่งขันร่วมรายการนี้ โดยทีมชนะเลิศยูฟ่าแชมเปียนส์ลีกจากยุโรปและโกปาลิเบร์ตาโดเรสจากอเมริกาใต้ จะเข้าไปรอแข่งขันในรอบรองชนะเลิศทันที

ทั้งนี้ สโมสรที่ชนะเลิศมากที่สุด คือ เรอัลมาดริด จากสเปน 5 สมัย

สโมสรที่ชนะเลิศล่าสุดในปัจจุบันจะได้รับการติดตราแชมป์สโมสรโลกที่เสื้อสโมสรในรายการแข่งขันของฟีฟ่าไปตลอดจนกว่าจะมีการเปลี่ยนทีมสโมสรที่ชนะเลิศฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลกในอนาคต

ทีมสโมสรที่ชนะเลิศครั้งล่าสุด คือ แมนเชสเตอร์ ซิตี้ จากอังกฤษ ซึ่งชนะเลิศได้เป็นสมัยแรก ในรายการนี้โดยเอาชนะฟลูมิเนนเซ จากบราซิลไป 4-0 ในเวลา 90 นาที ของนัดชิงชนะเลิศ 2023

ผลการแข่งขัน

[แก้]

รอบชิงชนะเลิศ

[แก้]

คำอธิบาย

ครั้งที่ ปี ค.ศ. เจ้าภาพ ชิงชนะเลิศ ชิงอันดับ 3 จำนวนทีม อ้างอิง
ชนะเลิศ ประตู รองชนะเลิศ อันดับ 3 ประตู อันดับ 4
1
 บราซิล ประเทศบราซิล คอรินเทียนส์ ประเทศบราซิล วัชกู ดา กามา เม็กซิโก เนกาซา ประเทศสเปน เรอัลมาดริด
8
[3][4]
 สเปน
การแข่งขันถูกยกเลิกเนื่องจากปัญหาทางการเงิน
12
[5]
2002
ไม่มีการแข่งขัน
[6]
2003
2004
2
 ญี่ปุ่น ประเทศบราซิล เซาเปาลู ประเทศอังกฤษ ลิเวอร์พูล คอสตาริกา ซาปริซา
3–2
ซาอุดีอาระเบีย อัล-อิตติฮัด
6
[7][8]
3
 ญี่ปุ่น ประเทศบราซิล อิงเตร์นาซีโยนัล ประเทศสเปน บาร์เซโลนา อียิปต์ อัลอะฮ์ลี
2–1
เม็กซิโก กลุบอาเมริกา
6
[9][10]
4
 ญี่ปุ่น ประเทศอิตาลี เอซี มิลาน ประเทศอาร์เจนตินา โบกายูนิออร์ส ประเทศญี่ปุ่น อูราวะ เรดไดมอนส์
2–2[n 1]
ตูนิเซีย อีตวล ดู ซาฮีล
7
[11][12]
5
 ญี่ปุ่น ประเทศอังกฤษ แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด เอกวาดอร์ แอลดียู กีโต ประเทศญี่ปุ่น กัมบะ โอซากะ
1–0
เม็กซิโก ปาชูกา
7
[13]
[14]
6
 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ประเทศสเปน บาร์เซโลนา ประเทศอาร์เจนตินา เอสตูเดียนเตส ประเทศเกาหลีใต้ โปฮัง สตีลเลอส์
1–1[n 1]
เม็กซิโก แอตแลนเต
7
[15][16]
[17]
7
 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ประเทศอิตาลี อินเตอร์มิลาน สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก มาเซมเบ ประเทศบราซิล อิงเตร์นาซีโยนัล
4–2
ประเทศเกาหลีใต้ ซองนัมอิลฮวาชอนมา
7
[18][19]
8
 ญี่ปุ่น ประเทศสเปน บาร์เซโลนา ประเทศบราซิล ซังตุส ประเทศกาตาร์ อัล ซาดด์
0–0[n 1]
ประเทศญี่ปุ่น คะชิวะ เรย์โซล
7
[20][21]
[22]
9
 ญี่ปุ่น ประเทศบราซิล คอรินเทียนส์ ประเทศอังกฤษ เชลซี เม็กซิโก มอนเตร์เรย์
2–0
อียิปต์ อัลอะฮ์ลี
7
[23][24]
10
 โมร็อกโก ประเทศเยอรมนี ไบเอิร์นมิวนิก โมร็อกโก ราจาคาซาบลังกา ประเทศบราซิล อัตเลชีกูมีเนย์รู
3–2
ประเทศจีน กว่างโจวเอเวอร์แกรนด์
7
[25][26]
11
 โมร็อกโก ประเทศสเปน เรอัลมาดริด ประเทศอาร์เจนตินา ซานโลเรนโซ นิวซีแลนด์ ออกแลนด์ซิตี
1–1[n 1]
เม็กซิโก กรุซอาซุล
7
[27][28]
[29]
12
 ญี่ปุ่น ประเทศสเปน บาร์เซโลนา ประเทศอาร์เจนตินา รีเบร์เปลต ประเทศญี่ปุ่น ซานเฟรซ ฮิโระชิมะ
2–1
ประเทศจีน กว่างโจวเอเวอร์แกรนด์
7
[30][31]
13
 ญี่ปุ่น ประเทศสเปน เรอัลมาดริด ประเทศญี่ปุ่น คะชิมะ แอนท์เลอร์ส โคลอมเบีย อัตเลติโก นาซิอองนาล
2–2[n 1]
เม็กซิโก กลุบอาเมริกา
7
[32][33]
[34][35]
14
 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ประเทศสเปน เรอัลมาดริด ประเทศบราซิล อาแลเกร็งซี เม็กซิโก ปาชูกา
4–1
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัลญะซีเราะฮ์
7
[36]
15
 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ประเทศสเปน เรอัลมาดริด สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัลอัยน์ ประเทศอาร์เจนตินา ริเบร์เปลต
4–0
ประเทศญี่ปุ่น คาชิมะ แอนต์เลอส์
7
[37]
16
 กาตาร์ ประเทศอังกฤษ ลิเวอร์พูล ประเทศบราซิล ฟลาเม็งกู เม็กซิโก มอนเตร์เรย์
2–2[n 1]
ซาอุดีอาระเบีย อัลฮิลาล
7
[38]
17
 กาตาร์ ประเทศเยอรมนี ไบเอิร์นมิวนิก เม็กซิโก ยูเอเอ็นแอล อียิปต์ อัลอะฮ์ลี
0–0[n 1]
ประเทศบราซิล ปัลเมย์รัส
6
[39]
18
 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ประเทศอังกฤษ เชลซี ประเทศบราซิล ปัลเมย์รัส อียิปต์ อัลอะฮ์ลี
4–0
ซาอุดีอาระเบีย อัลฮิลาล
7
[40]
19
 โมร็อกโก ประเทศสเปน เรอัลมาดริด ซาอุดีอาระเบีย อัลฮิลาล ประเทศบราซิล ฟลาเม็งกู
4–2
อียิปต์ อัลอะฮ์ลี
7
[41]
20
 ซาอุดีอาระเบีย ประเทศอังกฤษ แมนเชสเตอร์ซิตี ประเทศบราซิล ฟลูมิเนนเซ อียิปต์ อัลอะฮ์ลี
4–2
ประเทศญี่ปุ่น อูราวะ เรดไดมอนส์
7
21
 สหรัฐ
32
22
รอประกาศ
หมายเหตุ
  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 ไม่มีการต่อเวลาพิเศษ
  2. สกอร์เป็น 1–1 หลังจาก 90 นาที
  3. สกอร์เป็น 2–2 หลังจาก 90 นาที
  4. สกอร์อยู่ที่ 0–0 หลังจาก 90 นาที
  5. สกอร์เป็น 1–1 หลังจาก 90 นาที

ทำเนียบผู้ชนะเลิศ

[แก้]

ชนะเลิศ (จำแนกตามสโมสร)

[แก้]
สโมสร ชนะเลิศ รองชนะเลิศ ปีที่ชนะเลิศ ปีที่ได้รองชนะเลิศ
ประเทศสเปน เรอัลมาดริด 5 0 2014, 2016, 2017, 2018,2022
ประเทศสเปน บาร์เซโลนา 3 1 2009, 2011, 2015 2006
ประเทศบราซิล คอรินเทียนส์ 2 0 2000, 2012
ประเทศเยอรมนี ไบเอิร์นมิวนิก 2 0 2013, 2020
ประเทศอังกฤษ ลิเวอร์พูล 1 1 2019 2005
ประเทศอังกฤษ เชลซี 1 1 2021 2012
ประเทศบราซิล เซาเปาลู 1 0 2005
ประเทศบราซิล อิงเตร์นาซีโยนัล 1 0 2006
ประเทศอิตาลี เอซี มิลาน 1 0 2007
ประเทศอังกฤษ แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด 1 0 2008
ประเทศอิตาลี อินเตอร์มิลาน 1 0 2010
ประเทศอังกฤษ แมนเชสเตอร์ซิตี 1 0 2023

ชนะเลิศ (จำแนกตามชาติ)

[แก้]
ชาติ ชนะเลิศ รองชนะเลิศ ปีที่ชนะเลิศ ปีรองชนะเลิศ
ประเทศสเปน สเปน 8 1 (2009, 2011, 2014, 2015, 2016, 2017, 2018, 2022) (2006)
ประเทศบราซิล บราซิล 4 6 (2000, 2005, 2006, 2012) (2000, 2011, 2017, 2019, 2021, 2023)
ประเทศอังกฤษ อังกฤษ 4 2 (2008, 2019, 2021, 2023) (2005, 2012)
ประเทศอิตาลี อิตาลี 2 0 (2007, 2010)
ประเทศเยอรมนี เยอรมนี 2 0 (2013, 2020)
ประเทศอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา 0 4 (2007, 2009, 2014, 2015)
เอกวาดอร์ เอกวาดอร์ 0 1 (2008)
สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก 0 1 (2010)
โมร็อกโก โมร็อกโก 0 1 (2013)
ประเทศญี่ปุ่น ญี่ปุ่น 0 1 (2016)
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ 0 1 (2018)
เม็กซิโก เม็กซิโก 0 1 (2020)
ซาอุดีอาระเบีย ซาอุดีอาระเบีย 0 1 (2022)

ชนะเลิศ (จำแนกตามเมือง)

[แก้]
เมือง ชนะเลิศ ทีมชนะเลิศ
ประเทศสเปน มาดริด 5 เรอัลมาดริด (2014, 2016, 2017, 2018,2022)
ประเทศสเปน บาร์เซโลนา 3 บาร์เซโลนา (2009, 2011, 2015)
ประเทศบราซิล เซาเปาลู 3 คอรินเทียนส์ (2000, 2012), เซาเปาลู (2005)
ประเทศอิตาลี มิลาน 2 เอซี มิลาน (2007), อินเตอร์มิลาน (2010)
ประเทศเยอรมนี มิวนิก 2 ไบเอิร์นมิวนิก (2013, 2020)
ประเทศอังกฤษ แมนเชสเตอร์ 2 แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด (2008), แมนเชสเตอร์ซิตี (2023)
ประเทศบราซิล โปร์ตูอาเลกรี 1 อิงเตร์นาซีโยนัล (2006)
ประเทศอังกฤษ ลิเวอร์พูล 1 ลิเวอร์พูล (2019)
ประเทศอังกฤษ ลอนดอน 1 เชลซี (2021)

ชนะเลิศ (จำแนกตามสมาพันธ์ฟุตบอล)

[แก้]
สมาพันธ์ฟุตบอล ชนะเลิศ รองชนะเลิศ อันดับสาม
ยูฟ่า 16 (2007, 2008, 2009, 2010, 2011, 2013, 2014, 2015, 2016, 2017, 2018, 2019, 2020, 2021, 2022, 2023) 3 (2005, 2006, 2012) 0
คอนเมบอล 4 (2000, 2005, 2006, 2012) 11 (2000, 2007, 2008, 2009, 2011, 2014, 2015, 2017, 2019, 2021, 2023) 5 (2010, 2013, 2016, 2018, 2022)
เอเอฟซี 0 3 (2016, 2018, 2022) 5 (2007, 2008, 2009, 2011, 2015)
ซีเอเอฟ 0 2 (2010, 2013) 4 (2006, 2020, 2021, 2023)
คอนคาแคฟ 0 1 (2020) 5 (2000, 2005, 2012, 2017, 2019)
โอเอฟซี 0 0 1 (2014)

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "FIFA Club World Championship TOYOTA Cup Japan 2005: Report and Statistics" (PDF). pp. 5, 19. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2017-08-08. สืบค้นเมื่อ 2019-03-13.
  2. "FIFA Club World Cup UAE 2017: Statistical Kit" (PDF). pp. 15, 40, 41, 42. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2017-12-30. สืบค้นเมื่อ 2019-03-13.
  3. "FIFA Club World Championship Brazil 2000". FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 November 2012. สืบค้นเมื่อ 6 March 2013.
  4. Pontes, Ricardo (29 May 2007). "FIFA Club World Championship 2000". Rec.Sport.Soccer Statistics Foundation. สืบค้นเมื่อ 6 March 2013.
  5. "World Club Championship axed". BBC Sport. British Broadcasting Corporation. 18 May 2001. สืบค้นเมื่อ 26 August 2014.
  6. "FIFA revamps Club World Championship". 20 February 2004. สืบค้นเมื่อ 23 August 2022.
  7. "FIFA Club World Championship Toyota Cup Japan 2005". FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 November 2012. สืบค้นเมื่อ 6 March 2013.
  8. Nakanishi, Masanori "Komabano"; de Arruda, Marcelo Leme (30 April 2006). "FIFA Club World Championship 2005". Rec.Sport.Soccer Statistics Foundation. สืบค้นเมื่อ 6 March 2013.
  9. "FIFA Club World Cup Japan 2006". FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 November 2012. สืบค้นเมื่อ 6 March 2013.
  10. Nakanishi, Masanori "Komabano"; de Arruda, Marcelo Leme (10 May 2007). "FIFA Club World Championship 2006". Rec.Sport.Soccer Statistics Foundation. สืบค้นเมื่อ 6 March 2013.
  11. "FIFA Club World Cup Japan 2007". FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 11 March 2008. สืบค้นเมื่อ 6 March 2013.
  12. de Arruda, Marcelo Leme (28 May 2008). "FIFA Club World Championship 2007". Rec.Sport.Soccer Statistics Foundation. สืบค้นเมื่อ 6 March 2013.
  13. "FIFA Club World Cup Japan 2008". FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 May 2009. สืบค้นเมื่อ 6 March 2013.
  14. Nakanishi, Masanori "Komabano"; de Arruda, Marcelo Leme (21 May 2009). "FIFA Club World Championship 2008". Rec.Sport.Soccer Statistics Foundation. สืบค้นเมื่อ 6 March 2013.
  15. "FIFA Club World Cup UAE 2009". FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 25 March 2010. สืบค้นเมื่อ 6 March 2013.
  16. de Arruda, Marcelo Leme (14 May 2010). "FIFA Club World Championship 2009". Rec.Sport.Soccer Statistics Foundation. สืบค้นเมื่อ 6 March 2013.
  17. "Club Estudiantes de La Plata – FC Barcelona". FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 19 December 2009. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 14 July 2015. สืบค้นเมื่อ 6 March 2013.
  18. "FIFA Club World Cup UAE 2010". FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 July 2011. สืบค้นเมื่อ 6 March 2013.
  19. de Arruda, Marcelo Leme (17 July 2012). "FIFA Club World Championship 2010". Rec.Sport.Soccer Statistics Foundation. สืบค้นเมื่อ 6 March 2013.
  20. "FIFA Club World Cup Japan 2011". FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 13 May 2012. สืบค้นเมื่อ 6 March 2013.
  21. de Arruda, Marcelo Leme (17 July 2012). "FIFA Club World Championship 2011". Rec.Sport.Soccer Statistics Foundation. สืบค้นเมื่อ 6 March 2013.
  22. "Al-Sadd take third on penalties". FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 18 December 2011. สืบค้นเมื่อ 6 March 2013.
  23. "FIFA Club World Cup Japan 2012". FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 14 June 2013. สืบค้นเมื่อ 6 March 2013.
  24. de Arruda, Marcelo Leme (10 January 2013). "FIFA Club World Championship 2012". Rec.Sport.Soccer Statistics Foundation. สืบค้นเมื่อ 6 March 2013.
  25. "FIFA Club World Cup Morocco 2013". FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. สืบค้นเมื่อ 29 August 2014.
  26. de Arruda, Marcelo Leme (23 December 2013). "FIFA Club World Championship 2013". Rec.Sport.Soccer Statistics Foundation. สืบค้นเมื่อ 29 August 2014.
  27. "FIFA Club World Cup Morocco 2014". FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 August 2015. สืบค้นเมื่อ 29 August 2014.
  28. de Arruda, Marcelo Leme (23 December 2014). "FIFA Club World Championship 2014". Rec.Sport.Soccer Statistics Foundation. สืบค้นเมื่อ 29 August 2014.
  29. "Auckland City claim historic bronze". FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 20 December 2014. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 20 December 2014. สืบค้นเมื่อ 20 December 2014.
  30. "FIFA Club World Cup Japan 2015". FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 16 June 2016. สืบค้นเมื่อ 13 September 2016.
  31. King, Ian; Stokkermans, Karel (20 December 2015). "FIFA Club World Cup 2015". Rec.Sport.Soccer Statistics Foundation. สืบค้นเมื่อ 13 September 2016.
  32. "FIFA Club World Cup Japan 2016". FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 25 December 2011. สืบค้นเมื่อ 18 December 2016.
  33. Stokkermans, Karel (18 December 2016). "FIFA Club World Cup 2016". Rec.Sport.Soccer Statistics Foundation. สืบค้นเมื่อ 18 December 2016.
  34. "Club América – Atlético Nacional". FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 18 December 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 19 December 2016. สืบค้นเมื่อ 18 December 2016.
  35. "Real Madrid – Kashima Antlers". FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 18 December 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 17 December 2016. สืบค้นเมื่อ 18 December 2016.
  36. King, Ian (22 December 2018). "FIFA Club World Cup 2017". Rec.Sport.Soccer Statistics Foundation. สืบค้นเมื่อ 22 December 2018.
  37. King, Ian (3 January 2019). "FIFA Club World Cup 2018". Rec.Sport.Soccer Statistics Foundation. สืบค้นเมื่อ 17 January 2019.
  38. Poole, Harry (21 December 2019). "Flamengo 0–1 Liverpool: Roberto Firmino's extra-time strike delivers first Club World Cup". BBC Sport. สืบค้นเมื่อ 13 February 2022.
  39. Begley, Emlyn (11 February 2021). "Fifa Club World Cup final: Bayern Munich beat Tigres to become world champions". BBC Sport. สืบค้นเมื่อ 13 February 2022.
  40. "Chelsea win Club World Cup: Kai Havertz winner sees off Palmeiras after extra time". BBC Sport. 12 February 2022. สืบค้นเมื่อ 13 February 2022.
  41. "Real Madrid 5–3 Al-Hilal: Vinicius & Federico Valverde score in Club World Cup final win". BBC Sport. 11 February 2023. สืบค้นเมื่อ 11 February 2023.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]