ข้ามไปเนื้อหา

อาร์ทิมิส 1

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
อาร์ทิมิส
อาร์ทิมิส 1 ณ ฐานส่งจรวด 39B ศูนย์อวกาศเคนเนดี
รายชื่อเก่าArtemis I (ชื่ออย่างเป็นทางการ)
Exploration Mission-1 (EM-1) (ก่อนหน้า)
ประเภทภารกิจทดสอบโคจรรอบดวงจันทร์
ผู้ดำเนินการนาซา
COSPAR ID2022-156A
SATCAT no.54257แก้ไขบนวิกิสนเทศ
เว็บไซต์www.nasa.gov/artemis-1
ระยะภารกิจ25 วัน (กำหนดการ)[1]
ข้อมูลยานอวกาศ
ยานอวกาศโอไรออน CM-002
ชนิดยานอวกาศโอไรออน MPCV
ผู้ผลิตโบอิง
ล็อกฮีด มาร์ติน
Airbus Defence and Space
กำลังไฟฟ้าวัตต์
เริ่มต้นภารกิจ
วันที่ส่งขึ้น16 พฤศจิกายน 2565 เวลา 13:48 น. (ตามเวลาไทย)
จรวดนำส่งระบบการส่งอวกาศ, Block 1
ฐานส่งศูนย์อวกาศเคนเนดี, ฐานส่งจรวด 39B
ผู้ดำเนินงานนาซา
สิ้นสุดภารกิจ
เก็บกู้โดยกองทัพเรือสหรัฐ
ลงจอด12 ธันวาคม พ.ศ. 2565 เวลา 00:40 น. (ตามเวลาไทย) (December 11, 2022, 17:40:30 UTC)
พิกัดลงจอดมหาสมุทรแปซิฟิก
ลักษณะวงโคจร
ระบบอ้างอิงวงโคจรของดวงจันทร์
คาบการโคจร14 วัน
ยานอวกาศโคจรรอบดวงจันทร์

เครื่องหมายภารกิจอาร์ทิมิส 1  

อาร์ทิมิส 1 (อังกฤษ: Artemis 1)[2] เป็นภารกิจในโครงการอาร์ทิมิสของนาซาเพื่อทดสอบการโคจรรอบดวงจันทร์ ก่อนที่การกิจอาร์ทิมิส 2 ภารกิจต่อไปจะขึ้นไปพร้อมลูกเรือนักบินอวกาศอีก 4 คน ในปี 2024 และภารกิจอาร์เทมิส 1 จะเป็นเที่ยวบินแรกของจรวดขนส่งขนาดใหญ่ Space Launch System (SLS) พร้อมด้วยยานโอไรออน[3]

อาร์ทิมิส 1 มีกำหนดการส่งในวันจันทร์ที่ 16 พฤศจิกายน 2565 เวลา 13:04 น. ตามเวลาประเทศไทย แต่ถูกเลื่อนปล่อยเป็นเวลา 13:48 น. (ตามเวลาประเทศไทย) แทน [4]โดยหลังจากนี้ยานโอไรออนจะจะไปโคจรรอบดวงจันทร์และกลับมายังโลกในวันที่ 11 ธันวาคม 2565

ภาพรวม

[แก้]
แผนภาพแสดงขั้นตอนต่าง ๆ ตามแผนของเที่ยวบินอวกาศในภารกิจอาร์ทิมิส 1

อาร์ทิมิส 1 จะขึ้นสู่วงโคจรของโลกด้วยจรวด Space Launch System (SLS) ที่ฐานส่ง 39B ศูนย์อวกาศเคเนดี ภารกิจจะใช้เวลาประมาณ 26 ถึง 42 วัน[5]โดยประมาณ

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. Clark, Stephen (18 May 2020). "NASA will likely add a rendezvous test to the first piloted Orion space mission". Spaceflight Now. สืบค้นเมื่อ 19 May 2020.
  2. Artemis: brand book (Report). Washington, D.C.: NASA. 2019. NP-2019-07-2735-HQ. MISSION NAMING CONVENTION: While Apollo mission patches used numbers and roman numerals throughout the program, Artemis mission names will use a roman numeral convention. บทความนี้รวมเอาเนื้อความจากแหล่งอ้างอิงนี้ ซึ่งเป็นสาธารณสมบัติ
  3. Grush, Loren (17 May 2019). "NASA Administrator on new Moon plan: "We're doing this in a way that's never been done before"". The Verge. สืบค้นเมื่อ 17 May 2019.
  4. "ARTEMIS I PRESS KIT". blogs.nasa.gov (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน).{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  5. Sloss, Philip (November 1, 2021). "Inside Artemis 1's complex launch windows and constraints". NASASpaceflight.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ March 25, 2022. สืบค้นเมื่อ March 25, 2022.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]
  • วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ Artemis 1
  • Artemis-I at NASA