มาร์สรีคอนเนสเซนซ์ออร์บิเตอร์
หน้าตา
มาร์สรีคอนเนสเซนซ์ออร์บิเตอร์ | |
---|---|
ภาพวาดยานในวงโคจรรอบดาวอังคาร | |
ประเภทภารกิจ | ยานโคจรรอบดาวอังคาร |
ผู้ดำเนินการ | NASA / JPL |
COSPAR ID | 2005-029A |
SATCAT no. | 28788 |
เว็บไซต์ | marsprogram www |
ระยะภารกิจ | ภารกิจแรก: 2 ปี รวม: 19 ปี 4 เดือน 14 วัน ตั้งแต่ปล่อยยาน 18 ปี 9 เดือน 16 วัน (6682 sols) ที่ดาวอังคาร |
ข้อมูลยานอวกาศ | |
ผู้ผลิต | Lockheed Martin / University of Arizona / APL / ASI / Malin Space Science Systems |
มวลขณะส่งยาน | 2,180 kg (4,810 lb) |
มวลแห้ง | 1,031 kg (2,273 lb) |
มวลบรรทุก | 139 kg (306 lb) |
กำลังไฟฟ้า | 2,000.0 วัตต์ |
เริ่มต้นภารกิจ | |
วันที่ส่งขึ้น | August 12, 2005, 11:43:00 | UTC
จรวดนำส่ง | Atlas V 401 |
ฐานส่ง | Cape Canaveral SLC-41 |
ผู้ดำเนินงาน | ILS |
ลักษณะวงโคจร | |
ระบบอ้างอิง | เอริโอเซนทริก |
ระบบวงโคจร | โคจรรอบดวงอาทิตย์[1] |
ความเอียง | 93 องศา[1] |
ยานอวกาศโคจรรอบดาวอังคาร | |
แทรกวงโคจร | 10 มีนาคม ค.ศ.2006, 21:24:00 UTC MSD 46990 12:48 AMT 20 ดานุส 211 ปฏิทินดาเรียน |
ตราทางการของ มาร์สรีคอนเนสเซนซ์ออร์บิเตอร์ |
มาร์สรีคอนเนสเซนซ์ออร์บิเตอร์ (อังกฤษ: Mars Reconnaissance Orbiter) หรือเอ็มอาร์โอ (MRO) เป็นยานอวกาศขององค์การนาซาที่ส่งขึ้นจากพื้นโลกเมื่อวันที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2548 มีเป้าหมายศึกษาทำความเข้าใจเกี่ยวกับดาวอังคารอย่างละเอียด ค้นหาจุดลงจอดที่เหมาะสมสำหรับยานอวกาศในอนาคต และทำหน้าที่รับ-ส่งสัญญาณวิทยุระหว่างยานกับโลกด้วยอัตราส่งข้อมูลที่สูงกว่ายานลำอื่น ๆ ภารกิจหลักของยานมีกำหนด 4 ปี โดยได้เริ่มเข้าสู่วงโคจรรอบดาวอังคารเมื่อวันที่ 10 มีนาคม พ.ศ. 2549 ตามเวลาในสหรัฐอเมริกา หรือตรงกับเช้ามืดวันที่ 11 มีนาคม ตามเวลาในประเทศไทย
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อที่เกี่ยวข้องกับ มาร์สรีคอนเนสเซนซ์ออร์บิเตอร์