ลูนาร์ออร์บิเตอร์ 1
หน้าตา
บทความนี้ยังต้องการเพิ่มแหล่งอ้างอิงเพื่อพิสูจน์ความถูกต้อง |
ลูนาร์ออร์บิเตอร์ 1 | |
---|---|
ประเภทภารกิจ | Lunar orbiter |
ผู้ดำเนินการ | NASA |
COSPAR ID | 1966-073A |
SATCAT no. | 2394 |
ระยะภารกิจ | ข้อผิดพลาดนิพจน์: มีตัวดำเนินการ < ซึ่งไม่ควรมี |
ข้อมูลยานอวกาศ | |
ผู้ผลิต | The Boeing Co. |
มวลขณะส่งยาน | 385.6 kg (850 lb) |
เริ่มต้นภารกิจ | |
วันที่ส่งขึ้น | August 10, 1966, 19:31[1] | UTC
จรวดนำส่ง | Atlas SLV-3 Agena-D |
ฐานส่ง | Cape Canaveral LC-13 |
สิ้นสุดภารกิจ | |
การกำจัด | หลุดจากวงโคจร |
เข้าสู่ชั้นบรรยากาศ | แม่แบบ:End-date "ประมาณ 13:29 GMT"[2] |
ลักษณะวงโคจร | |
ระบบอ้างอิง | Selenocentric |
กึ่งแกนเอก | 2,694 km (1,674 mi) |
ความเยื้อง | 0.33 |
ระยะใกล้สุด | 189.1 ถึง 40.5 km (117.5 ถึง 25.2 mi) |
ระยะไกลสุด | 1,866.8 km (1,160.0 mi) |
ความเอียง | 12 องศา |
คาบการโคจร | 208.1 นาที |
ยานอวกาศโคจรรอบ ดวงจันทร์ | |
แทรกวงโคจร | 14 สิงหาคม ค.ศ.1966 |
ตำแหน่งปะทะ | แม่แบบ:Lunar coords and quad cat |
วงโคจร | 577 |
ยานลูนาร์ออร์บิเตอร์ 1 เป็นยานอวกาศลำที่หนึ่งจากห้าลำในโครงการยานอวกาศแบบไร้นักบินที่ถูกส่งขึ้นไปโคจรรอบดวงจันทร์โดยองค์การนาซา สหรัฐอเมริกา เพื่อภารกิจในการทำแผนผังพื้นผิวดวงจันทร์ ก่อนที่ยานอพอลโลจะทำการร่อนลง
ภารกิจทั้งห้าครั้งประสบความสำเร็จเป็นอย่างดี โดนพื้นผิวของดวงจันทร์กว่า 90 เปอร์เซ็นต์ถูกถ่ายภาพไว้โดยความละเอียดระดับ 60 เมตร หรือละเอียดกว่านั้น ภารกิจแรกของยานลูนาร์ออร์บิเตอร์ 1 ก็คือการสำรวจพื้นที่ 20 แห่งที่ยานอพอลโลจะสามารถร่อนลงได้
ยานลูนาร์ออร์บิเตอร์ 1 มีอุปกรณ์สำหรับถ่ายภาพแบบความสามารถสูงซึ่งประกอบไปด้วยกล้องแบบเลนส์คู่ โดนเป็นเลนส์มุมแคบขนาด 610 มิลลิเมตร และ เลนส์มุมกว้างขนาด 80 มิลลิเมตร หน่วยประมวลผลฟิล์ม สแกนเนอร์ และอุปกรณ์เฉพาะสำหรับจัดการเกี่ยวกับฟิล์ม ฟิล์มที่ใช้เป็นขนาด 70 มิลลิเมตร
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Lunar Orbiter I: Extended Mission Spacecraft Subsystem Performance (PDF) (Report). NASA. The Boeing Company. September 1967. p. 37. NASA CR-870.
- ↑ https://www.drewexmachina.com/2016/08/14/lunar-orbiter-1-americas-first-lunar-satellite/