ข้ามไปเนื้อหา

มาร์ส 2020

พิกัด: 18°26′41″N 77°27′03″E / 18.4447°N 77.4508°E / 18.4447; 77.4508
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
มาร์ส 2020
ภาพถ่ายตนเองของภารกิจ มาร์ส 2020 ประกอบไปด้วย ยานสำรวจเพอร์เซเวียแรนส์ และเฮลิคอปเตอร์ อินเจนูอิตี (ที่ด้านซ้าย) ตั้งอยู่ ณ ลานพี่น้องไรต์ (7 เมษายน ค.ศ.2021)
ประเภทภารกิจสำรวจดาวอังคาร
ผู้ดำเนินการ
COSPAR ID2020-052A
SATCAT no.45983
ระยะภารกิจ
  • 1568 ว. 9 ชม. 29 น. (ล่วง)
  • 1 ปีดาวอังคาร (668 โซล, 687 วันโลก) (วางแผน)
ข้อมูลยานอวกาศ
ยานอวกาศ
มวลขณะส่งยาน3,649-กิโลกรัม (8,045-ปอนด์)[1]
เริ่มต้นภารกิจ
วันที่ส่งขึ้น30 กรกฎาคม ค.ศ.2020, 11:50:00 UTC
จรวดนำส่งแอตลาส 5 541 (เอวี-088)
ฐานส่งแหลมคะแนเวอรัล, SLC-41
ผู้ดำเนินงานUnited Launch Alliance
ยานสำรวจ ดาวอังคาร
วันที่ลงจอด18 กุมภาพันธ์ ค.ศ.2021, 20:55 UTC[2]
ตำแหน่งลงจอดจุดลงจอดออกเตเวีย อี บัตเลอร์ ใน หลุมอุกกาบาตเจซีโร, 18°26′41″N 77°27′03″E / 18.4447°N 77.4508°E / 18.4447; 77.4508
ระยะทางที่ขับ0.27 km (0.17 mi)[3]
ข้อมูลเมื่อ 14 เมษายน ค.ศ. 2021 (2021 -04-14)
อากาศยาน ดาวอังคาร
วันที่ลงจอด
  • 18 กุมภาพันธ์ ค.ศ.2021 (ปล่อยจาก เพอร์เซเวียแรนส์ ในวันที่ 3 เมษายน ค.ศ.2021)[4][5][6][7][8]
ตำแหน่งลงจอดลานจอดเฮลิคอปเตอร์ ลานพี่น้องไรต์ ใกล้จุดลงจอดออกเตเวีย อี บัตเลอร์ ในหลุมอุกกาบาตเจซีโร [9]
ระยะทางที่บิน3 m (9.8 ft) ถึง 50 m (160 ft) ต่อการบินถึงและจากจุดปล่อยตัว (วางแผน)

NASA (left) and JPL insignias  

มาร์ส 2020 เป็นภารกิจยานสำรวจดาวอังคาร ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโครงการสำรวจดาวอังคารของนาซา ซึ่งประกอบไปด้วยยานสำรวจ เพอร์เซเวียแรนส์ และหุ่นยนต์เฮลิคอปเตอร์ร่วมแกน อินเจนูอิตี ภารกิจมาร์ส 2020 ถูกปล่อยจากโลกบนพาหนะส่งแอตลาส 5 ณ เวลา 18:50:01 UTC+7 (11:50:01 UTC) วันที่ 30 กรกฎาคม ค.ศ.2020,[10] และการยืนยันการลงจอดในหลุมอุกกาบาตเจซีโร บนดาวอังคารถูกรับ ณ เวลา 03:55น. วันที่ 19 กุมภาพันธ์ ค.ศ.2021 UTC+7 (20:55น. วันที่ 18 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2021 UTC)[2] ในวันที่ 5 มีนาคม ค.ศ.2021, นาซาตั้งชื่อจุดลงจอดของยานสำรวจว่า จุดลงจอดออกเตเวีย อี บัตเลอร์[11] สำหรับในวันที่ 14 พฤศจิกายน 2024, เพอร์เซเวียแรนส์ และ อินเจนูอิตี ของบนดาวอังคารมาเป็นเวลา 1329 โซล (รวม 1365 วัน; 3 ปี 270 วัน).

อ้างอิง

[แก้]
  1. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ EspaceEtExplorationNo61
  2. 2.0 2.1 "Touchdown! NASA's Mars Perseverance Rover Safely Lands on Red Planet". NASA's Mars Exploration Program. 18 February 2021. สืบค้นเมื่อ 19 February 2021. บทความนี้รวมเอาเนื้อความจากแหล่งอ้างอิงนี้ ซึ่งเป็นสาธารณสมบัติ
  3. "Where is Perseverance?". mars.nasa.gov. NASA. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 22 February 2021. สืบค้นเมื่อ 28 March 2021.
  4. "GAO-20-405, NASA: Assessments of Major Projects" (PDF). Government Accountability Office. 29 April 2020. p. 37. สืบค้นเมื่อ 30 April 2020. บทความนี้รวมเอาเนื้อความจากแหล่งอ้างอิงนี้ ซึ่งเป็นสาธารณสมบัติ
  5. "Mars Rover Perseverance Set To Launch Drone". Today (American TV program). YouTube. 24 March 2021. สืบค้นเมื่อ 2021-03-27.
  6. hang, Kenneth (23 March 2021). "Get Ready for the First Flight of NASA's Mars Helicopter - The experimental vehicle named Ingenuity traveled to the red planet with the Perseverance rover, which is also preparing for its main science mission". The New York Times. สืบค้นเมื่อ 23 March 2021.
  7. Johnson, Alana; Hautaluoma, Grey; Agle, DC (23 March 2021). "NASA Ingenuity Mars Helicopter Prepares for First Flight". NASA. สืบค้นเมื่อ 23 March 2021.
  8. "NASA's Mars Helicopter Survives First Cold Martian Night on Its Own". Nasa Mars Website.
  9. "NASA to Attempt First Controlled Flight on Mars As Soon As Monday".{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  10. "NASA, ULA Launch Mars 2020 Perseverance Rover Mission to Red Planet". NASA. 30 July 2020. สืบค้นเมื่อ 2 August 2020. บทความนี้รวมเอาเนื้อความจากแหล่งอ้างอิงนี้ ซึ่งเป็นสาธารณสมบัติ
  11. Staff (5 March 2021). "Welcome to 'Octavia E. Butler Landing'". NASA. สืบค้นเมื่อ 5 March 2021.