อาร์ทิมิส 3
อาร์ทิมิส 3 | |
---|---|
สรุปแผนภารกิจของอาร์ทิมิส 3 | |
รายชื่อเก่า | ภารกิจสำรวจ-3 (2017–2019) |
ประเภทภารกิจ | การลงจอดบนดวงจันทร์ที่มีลูกเรือ |
ผู้ดำเนินการ | นาซา |
ระยะภารกิจ | ~30 วัน[1] |
ข้อมูลยานอวกาศ | |
ยานอวกาศ | ออไรออน CM-004 สตาร์ชิปเอชแอลเอส |
ผู้ผลิต |
|
เริ่มต้นภารกิจ | |
วันที่ส่งขึ้น | กลางปี 2027 (ตามแผน) |
จรวดนำส่ง | สเปซลอนช์ซิสเตม บล็อก 1[4] |
ฐานส่ง | ศูนย์อวกาศเคนเนดี, LC-39B |
สิ้นสุดภารกิจ | |
พิกัดลงจอด | มหาสมุทรแปซิฟิก (ตามแผน) |
ยานลงจอด ดวงจันทร์ | |
ตำแหน่ง]ลงจอด | เขตขั้วโลกใต้ |
อาร์ทิมิส 3 (อังกฤษ: Artemis III) เป็นภารกิจลงจอดบนดวงจันทร์ที่มีลูกเรือครั้งแรกของโครงการอาร์ทิมิส และจะเป็นการปล่อยยานสตาร์ชิปเอชแอลเอสที่มีลูกเรือครั้งแรก[5] อาร์ทิมิส 3 เป็นภารกิจอาร์ทิมิสที่มีลูกเรือเป็นครั้งที่สอง และเป็นการลงจอดบนดวงจันทร์ของชาวอเมริกันครั้งแรกนับตั้งแต่อะพอลโล 17 ในเดือนธันวาคม ค.ศ. 1972[6] ข้อมูลเมื่อ ธันวาคม 2024[update], นาซาคาดว่าอาร์ทิมิส 3 จะถูกปล่อยไม่เร็วกว่ากลางปี ค.ศ. 2027 เนื่องจากปัญหาแผ่นกันความร้อนของยานออไรออน และปัญหาวาล์วในระบบชีวิตของยาน[7][8]
ในเดือนสิงหาคม ค.ศ. 2023 เนื่องจากความล่าช้าในการพัฒนาสตาร์ชิป เจ้าหน้าที่ของนาซาแสดงความพร้อมที่จะบินอาร์ทิมิส 3 โดยไม่มีการลงจอดแบบมีลูกเรือ[9][10] ในกรณีนี้ ภารกิจอาจกลายเป็นการเยือนลูนาร์เกตเวย์โดยมีลูกเรือ[11] ในเดือนเมษายน ค.ศ. 2024 มีรายงานว่าทางเลือกภารกิจอื่น ๆ ที่นาซากำลังประเมินภายใน ได้แก่ การทดสอบการเชื่อมต่อระหว่างยานอวกาศออไรออนและสตาร์ชิปเอชแอลเอสในวงโคจรต่ำของโลก[12]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Gebhardt, Chris (22 กันยายน 2017). "SLS EM-1 and EM-2 launch dates realign; EM-3 gains notional mission outline". NASASpaceFlight.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2 ตุลาคม 2017. สืบค้นเมื่อ 23 กันยายน 2017.
- ↑ Berger, Eric (16 เมษายน 2021). "NASA selects SpaceX as its sole provider for a lunar lander - "We looked at what's the best value to the government"". Ars Technica. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 17 เมษายน 2021. สืบค้นเมื่อ 17 เมษายน 2021.
- ↑ Brown, Katherine (2021-04-16). "As Artemis Moves Forward, NASA Picks SpaceX to Land Next Americans on Moon". NASA. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 16 เมษายน 2021. สืบค้นเมื่อ 17 เมษายน 2021. บทความนี้รวมเอาเนื้อความจากแหล่งอ้างอิงนี้ ซึ่งเป็นสาธารณสมบัติ
- ↑ Loff, Sarah (16 ตุลาคม 2019). "NASA Commits to Future Artemis Missions With More SLS Rocket Stages". NASA. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 20 มกราคม 2021. สืบค้นเมื่อ 16 ตุลาคม 2019. บทความนี้รวมเอาเนื้อความจากแหล่งอ้างอิงนี้ ซึ่งเป็นสาธารณสมบัติ
- ↑ Potter, Sean (2022-03-23). "NASA Provides Update to Astronaut Moon Lander Plans Under Artemis". NASA. สืบค้นเมื่อ 2022-03-23.
- ↑ Foust, Jeff (13 มีนาคม 2023). "NASA planning to spend up to $1 billion on space station deorbit module". SpaceNews. สืบค้นเมื่อ 13 มีนาคม 2023.
- ↑ Donaldson, Abbey A. (5 ธันวาคม 2024). "NASA Shares Orion Heat Shield Findings, Updates Artemis Moon Missions". NASA (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). สืบค้นเมื่อ 2024-12-05.
- ↑ Sullivan, Will. "NASA Delays Artemis 2, Artemis 3 Moon Missions for Safety Reasons". Smithsonian Magazine (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2024-04-17.
- ↑ "NASA may delay crewed lunar landing beyond Artemis 3 mission". CNA. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2023-08-09. สืบค้นเมื่อ 2023-08-08.
- ↑ "NASA Acknowledges Challenges In Artemis III Schedule". aviationweek.com. สืบค้นเมื่อ 2023-08-08.
- ↑ Berger, Eric [@SciGuySpace] (August 8, 2023). "There has been chatter for awhile that, if there are HLS and/or spacesuit delays, Artemis III could turn into a humans-to-Gateway mission. Gateway being ready, of course, is no slam-dunk either" (ทวีต). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2023-08-08. สืบค้นเมื่อ 2023-08-08 – โดยทาง ทวิตเตอร์.
- ↑ Berger, Eric (2024-04-19). "NASA may alter Artemis III to have Starship and Orion dock in low Earth orbit". Ars Technica (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). สืบค้นเมื่อ 2024-07-06.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- Orion website at nasa.gov
- Space Launch System website at nasa.gov