สุวัฒน์ แจ้งยอดสุข
บทความชีวประวัตินี้เขียนเหมือนประวัติสมัครงาน |
บทความนี้อาศัยการอ้างอิงจากแหล่งข้อมูลปฐมภูมิมากเกินไป |
สุวัฒน์ แจ้งยอดสุข | |
---|---|
สุวัฒน์ใน พ.ศ. 2565 | |
สมาชิกวุฒิสภา | |
สมาชิกโดยตำแหน่ง 6 ธันวาคม พ.ศ. 2563 – 30 กันยายน พ.ศ. 2565 (1 ปี 298 วัน) | |
ก่อนหน้า | พลตำรวจเอก จักรทิพย์ ชัยจินดา |
ถัดไป | พลตำรวจเอก ดำรงศักดิ์ กิตติประภัสร์ |
ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ | |
ดำรงตำแหน่ง 1 ตุลาคม พ.ศ. 2563 – 30 กันยายน พ.ศ. 2565 (1 ปี 364 วัน) | |
ก่อนหน้า | พลตำรวจเอก จักรทิพย์ ชัยจินดา |
ถัดไป | พลตำรวจเอก ดำรงศักดิ์ กิตติประภัสร์ |
ข้อมูลส่วนบุคคล | |
เกิด | 20 ธันวาคม พ.ศ. 2504 อำเภอคลองเขื่อน จังหวัดฉะเชิงเทรา ประเทศไทย |
ศิษย์เก่า | โรงเรียนเตรียมทหาร รุ่นที่ 20 โรงเรียนนายร้อยตำรวจ รุ่นที่ 36 |
ลายมือชื่อ | |
ยศที่ได้รับการแต่งตั้ง | |
สังกัด | สำนักงานตำรวจแห่งชาติ |
ประจำการ | พ.ศ. 2526–2565 |
ยศ | พลตำรวจเอก[1] |
บังคับบัญชา | สำนักงานตำรวจแห่งชาติ |
ผ่านศึก | เหตุการณ์ชิงตัวประกันในเทอร์มินอล 21 โคราช[2] |
พลตำรวจเอก สุวัฒน์ แจ้งยอดสุข (เกิด 20 ธันวาคม พ.ศ. 2504) ชื่อเล่น ปั๊ด เป็นนายตำรวจชาวไทย นายตำรวจ ราชองครักษ์[3]ประธานกรรมการสำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ[4]
อดีตหัวหน้าผู้รับผิดชอบในสถานการณ์ฉุกเฉินที่มีความร้ายแรง[5] ผู้อำนวยการกองอำนวยการร่วมแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉินที่มีความร้ายแรง อดีตผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ อดีตสมาชิกวุฒิสภาไทย ชุดที่ 12 อดีตรองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ อดีตผู้ช่วยผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ อดีตผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 1 อดีตผู้บัญชาการตำรวจสันติบาล
จากผลสำรวจ ตำรวจขวัญใจประชาชนแห่งปี พ.ศ. 2562 เขาได้รับการจัดให้อยู่ในอันดับ 5[6][7]
ประวัติ
[แก้]พล.ต.อ.สุวัฒน์ แจ้งยอดสุข เกิดเมื่อวันที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2504 ที่อำเภอคลองเขื่อน ฉะเชิงเทรา เป็นนักเรียนเตรียมทหารรุ่นที่ 20 รุ่นเดียวกับ พลเอกอภิรัชต์ คงสมพงษ์ ผู้บัญชาการทหารบก และนักเรียนนายร้อยตำรวจรุ่นที่ 36 รุ่นเดียวกับ พลตำรวจเอก จักรทิพย์ ชัยจินดา อดีตผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ เริ่มรับราชการครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2526 ในตำแหน่ง รองสารวัตร สถานีตำรวจนครบาลหัวหมาก จนเมื่อ ต.ค. 2562 ได้ดำรงตำแหน่งรองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ และได้รับพระราชทานยศ พลตำรวจเอก
การศึกษา
[แก้]โรงเรียนเตรียมทหาร รุ่นที่ 20, โรงเรียนนายร้อยตำรวจ รุ่นที่ 36, ปริญญาโทวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตสาขาคอมพิวเตอร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
หลักสูตรอื่น ๆ
[แก้]วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร รุ่นที่ 55[8]
การรับราชการ
[แก้]- 25 พ.ย. 2552 - ผู้บังคับการ กองบังคับการอำนวยการถวายความปลอดภัย[9]
- 15 พ.ย. 2553 - ผู้บังคับการตำรวจนครบาล 6[10]
- 23 ก.พ. 2555 - ผู้บังคับการกองวิจัย[11]
- 1 ต.ค. 2555 - ผู้บังคับการสืบสวนสอบสวน ตำรวจภูธรภาค 3[12]
- 1 ต.ค. 2556 - รองผู้บัญชาการสำนักงานยุทธศาสตร์ตำรวจ[13]
- 1 ต.ค. 2557 - รองผู้บัญชาการตำรวจนครบาล[14]
- 1 ต.ต. 2559 - ผู้บัญชาการตำรวจสันติบาล[15]
- 1 ต.ค. 2560 - ผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 1[16]
- 1 ต.ค. 2561 - ผู้ช่วยผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ[17]
- 1 ต.ค. 2562 - รองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ[18]
- 1 ต.ค. 2563 - ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ[19]
เครื่องราชอิสริยาภรณ์
[แก้]- พ.ศ. 2563 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นสูงสุด มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.)[20]
- พ.ศ. 2560 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นสูงสุด มหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.)[21]
- พ.ศ. 2566 – เหรียญพิทักษ์เสรีชน ชั้นที่ 2 ประเภทที่ 2 (ส.ช.)[22]
- พ.ศ. 2560 – เหรียญจักรมาลา (ร.จ.ม.)[23]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ ราชกิจจานุเบกษา,ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานยศตำรวจชั้นนายพล เล่ม 136 ตอนที่ 49 ข หน้า 1 7 กันยายน 2562
- ↑ ภารกิจสยบกราดยิงโคราช ‘บิ๊กแป๊ะ’นำบัญชาการ ‘สุชาติ-สุวัฒน์’ร่วมทัพตร. : ทะลุคนทะลวงข่าว
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา,พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งนายทหารราชองครักษ์และนายตำรวจราชองครักษ์ เล่ม 137 ตอนพิเศษ 78 ง หน้า 13 3 เมษายน 2563
- ↑ สรุปข่าวการประชุมคณะรัฐมนตรี 24 มกราคม 2566
- ↑ คำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 36/2563
- ↑ ฉายาตำรวจปี 62 "จักรทิพย์" - พิทักษ์ 1 กึ่งทศวรรษ - โพสต์ทูเดย์
- ↑ ฉายาตำรวจปี 2562 ผบ.ตร.พิทักษ์ 1 กึ่งทศวรรษ
- ↑ "วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร รุ่นที่ 55". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-07-26. สืบค้นเมื่อ 2020-07-26.
- ↑ ผู้บังคับการกองบังคับการอำนวยการถวายความปลอดภัย
- ↑ ผู้บังคับการตำรวจนครบาล
- ↑ ผู้บังคับการกองวิจัย
- ↑ ผู้บังคับการสืบสวนสอบสวน ตำรวจภูธรภาค 3
- ↑ รองผู้บัญชาการสำนักงานยุทธศาสตร์ตำรวจ
- ↑ รองผู้บัญชาการตำรวจนครบาล
- ↑ ผู้บัญชากองบัญชาการตำรวจสันติบาล
- ↑ ผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 1
- ↑ ผู้ช่วยผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ
- ↑ รองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ
- ↑ ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งข้าราชการตำรวจ หน้า ๑ เล่ม ๑๓๗ ตอนพิเศษ ๒๒๓ ง ราชกิจจานุเบกษา ๒๔ กันยายน ๒๕๖๓
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ประจำปี ๒๕๖๓, เล่ม ๑๓๘ ตอนพิเศษ ๑ ข หน้า ๒๗๔, ๒๒ มกราคม ๒๕๖๔
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ประจำปี ๒๕๖๐, เล่ม ๑๓๔ ตอนที่ ๔๗ ข หน้า ๒๘, ๒๘ กันยายน ๒๕๖๐
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญพิทักษ์เสรีชน[ลิงก์เสีย], เล่ม ๑๔๐ ตอนที่ ๑๓ ข หน้า ๘๓, ๒๗ มีนาคม ๒๕๖๖
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญจักรมาลาและเหรียญจักรพรรดิมาลา ประจำปี ๒๕๖๐, เล่ม ๑๓๔ ตอนที่ ๕๒ ข หน้า ๒, ๑๖ ตุลาคม ๒๕๖๐
ก่อนหน้า | สุวัฒน์ แจ้งยอดสุข | ถัดไป | ||
---|---|---|---|---|
พลตำรวจเอก จักรทิพย์ ชัยจินดา | ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ (1 ตุลาคม พ.ศ. 2563 – 30 กันยายน พ.ศ. 2565) |
พลตำรวจเอก ดำรงศักดิ์ กิตติประภัสร์ |