สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุพรรณบุรี
หน้าตา
เขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร | |
---|---|
จังหวัดสุพรรณบุรี | |
เขตเลือกตั้งในปัจจุบัน | |
จำนวนเขต | 5 |
คะแนนเสียง | 227,893 (ชาติไทยพัฒนา) |
เขตเลือกตั้งปัจจุบัน | |
ก่อตั้ง | พ.ศ. 2476 |
ที่นั่ง | ชาติไทยพัฒนา (5) |
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร | ดูในบทความ |
จังหวัดสุพรรณบุรี มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 5 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ. 2566)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 5 คน จากทั้งหมด 400 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ประวัติศาสตร์
[แก้]หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยจังหวัดสุพรรณบุรีมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนแรก คือ นายมนูญ บริสุทธิ์[2]
- นักการเมืองที่ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมากครั้งที่สุด คือ 13 สมัย ได้แก่ นายประภัตร โพธสุธน
- สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสตรีคนแรกของจังหวัดสุพรรณบุรี คือ นางสาวกัญจนา ศิลปอาชา (จากการเลือกตั้ง พ.ศ. 2538)
- ตระกูลการเมืองที่ได้รับเลือกตั้งมากที่สุด คือ
- ศิลปอาชา (4 คน) ได้แก่ นายบรรหาร ศิลปอาชา นายชุมพล ศิลปอาชา นางสาวกัญจนา ศิลปอาชา และนายวราวุธ ศิลปอาชา
เขตเลือกตั้ง
[แก้]การเลือกตั้ง | เขตเลือกตั้ง | แผนที่ | จำนวน ส.ส. |
พ.ศ. 2476 | เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด | 1 คน (เขตละ 1 คน) | |
พ.ศ. 2480 | |||
พ.ศ. 2481 | |||
พ.ศ. 2489 | |||
พ.ศ. 2491 | 2 คน (เขตละ 2 คน) | ||
พ.ศ. 2492 | |||
พ.ศ. 2495 | |||
พ.ศ. 2500/1 | 3 คน (เขตละ 3 คน) | ||
พ.ศ. 2500/2 | |||
พ.ศ. 2512 | 4 คน (เขตละ 4 คน) | ||
พ.ศ. 2518 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสุพรรณบุรี, อำเภอบางปลาม้า, อำเภอสองพี่น้อง และอำเภออู่ทอง · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอดอนเจดีย์, อำเภอศรีประจันต์, อำเภอสามชุก, อำเภอเดิมบางนางบวช และกิ่งอำเภอด่านช้าง |
5 คน (เขต 1 เขตละ 3 คน และเขต 2 เขตละ 2 คน) | |
พ.ศ. 2519 | |||
พ.ศ. 2522 | |||
พ.ศ. 2526 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสุพรรณบุรี, อำเภอบางปลาม้า, อำเภอสองพี่น้อง และอำเภออู่ทอง · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอดอนเจดีย์, อำเภอศรีประจันต์, อำเภอสามชุก, อำเภอเดิมบางนางบวช และอำเภอด่านช้าง |
||
พ.ศ. 2529 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสุพรรณบุรี, อำเภอบางปลาม้า, อำเภอสองพี่น้อง และอำเภออู่ทอง · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอดอนเจดีย์, อำเภอศรีประจันต์, อำเภอสามชุก, อำเภอเดิมบางนางบวช, อำเภอด่านช้าง และกิ่งอำเภอหนองหญ้าไซ |
||
พ.ศ. 2531 | |||
พ.ศ. 2535/1 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสุพรรณบุรี, อำเภอบางปลาม้า, อำเภอสองพี่น้อง และอำเภออู่ทอง · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอดอนเจดีย์, อำเภอศรีประจันต์, อำเภอสามชุก, อำเภอเดิมบางนางบวช, อำเภอด่านช้าง และอำเภอหนองหญ้าไซ |
||
พ.ศ. 2535/2 | |||
พ.ศ. 2538 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอสองพี่น้อง, อำเภอบางปลาม้า, อำเภอเมืองสุพรรณบุรี (ยกเว้นตำบลตลิ่งชันและตำบลสนามคลี) และอำเภออู่ทอง (ยกเว้นตำบลบ้านโข้ง ตำบลพลับพลาไชย ตำบลดอนคา และตำบลหนองโอ่ง) · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอศรีประจันต์, อำเภอสามชุก, อำเภอเดิมบางนางบวช, อำเภอด่านช้าง, อำเภอหนองหญ้าไซ, อำเภอดอนเจดีย์, อำเภออู่ทอง (เฉพาะตำบลบ้านโข้ง ตำบลพลับพลาไชย ตำบลดอนคา และตำบลหนองโอ่ง) และอำเภอเมืองสุพรรณบุรี (เฉพาะตำบลตลิ่งชันและตำบลสนามคลี) |
6 คน (2 เขต เขตละ 3 คน) | |
พ.ศ. 2539 | |||
พ.ศ. 2544 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสุพรรณบุรี (ยกเว้นตำบลตลิ่งชันและตำบลสนามคลี) · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอดอนเจดีย์, อำเภออู่ทอง (เฉพาะตำบลเจดีย์ ตำบลกระจัน ตำบลหนองโอ่ง ตำบลดอนคา ตำบลพลับพลาไชย และตำบลบ้านโข้ง), อำเภอหนองหญ้าไซ (เฉพาะตำบลหนองหญ้าไซ ตำบลทัพหลวง และตำบลหนองราชวัตร) และอำเภอเมืองสุพรรณบุรี (เฉพาะตำบลตลิ่งชันและตำบลสนามคลี) · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอบางปลาม้าและอำเภอสองพี่น้อง (เฉพาะตำบลหัวโพธิ์ ตำบลบางพลับ ตำบลบ้านกุ่ม ตำบลบ้านช้าง ตำบลบางตาเถร ตำบลบางตะเคียน ตำบลบางเลน และตำบลต้นตาล) · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอสองพี่น้อง (เฉพาะตำบลหนองบ่อ ตำบลบ่อสุพรรณ ตำบลทุ่งคอก ตำบลศรีสำราญ ตำบลสองพี่น้อง ตำบลเนินพระปรางค์ และตำบลดอนมะนาว) และอำเภออู่ทอง (เฉพาะตำบลอู่ทอง ตำบลจรเข้สามพัน ตำบลยุ้งทะลาย ตำบลบ้านดอน ตำบลดอนมะเกลือ ตำบลสระพังลาน และตำบลสระยายโสม) · เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอศรีประจันต์, อำเภอสามชุก และอำเภอหนองหญ้าไซ (เฉพาะตำบลหนองโพธิ์ ตำบลแจงงาม และตำบลหนองขาม) · เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอด่านช้างและอำเภอเดิมบางนางบวช |
6 คน (เขตละ 1 คน) | |
พ.ศ. 2548 | |||
พ.ศ. 2549 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสุพรรณบุรี และอำเภอดอนเจดีย์ (เฉพาะตำบลไร่รถ) · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอบางปลาม้าและอำเภอสองพี่น้อง (ยกเว้นตำบลทุ่งคอก ตำบลหนองบ่อ และตำบลบ่อสุพรรณ) · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภออู่ทอง, อำเภอสองพี่น้อง (เฉพาะตำบลทุ่งคอก ตำบลหนองบ่อ และตำบลบ่อสุพรรณ) และอำเภอดอนเจดีย์ (เฉพาะตำบลสระกระโจม) · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอสามชุก, อำเภอศรีประจันต์, อำเภอดอนเจดีย์ (เฉพาะตำบลดอนเจดีย์ ตำบลหนองสาหร่าย และตำบลทะเลบก) และอำเภอหนองหญ้าไซ (เฉพาะตำบลหนองหญ้าไซและตำบลหนองโพธิ์) · เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอด่านช้าง, อำเภอเดิมบางนางบวช และอำเภอหนองหญ้าไซ (ยกเว้นตำบลหนองหญ้าไซและตำบลหนองโพธิ์) |
5 คน (เขตละ 1 คน) | |
พ.ศ. 2550 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสุพรรณบุรี, อำเภอบางปลาม้า, อำเภอสองพี่น้อง และอำเภออู่ทอง · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอดอนเจดีย์, อำเภอศรีประจันต์, อำเภอสามชุก, อำเภอเดิมบางนางบวช, อำเภอด่านช้าง และอำเภอหนองหญ้าไซ |
5 คน (เขต 1 เขตละ 3 คน และเขต 2 เขตละ 2 คน) | |
พ.ศ. 2554 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสุพรรณบุรีและอำเภอดอนเจดีย์ (เฉพาะตำบลไร่รถ) · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอบางปลาม้าและอำเภอสองพี่น้อง (ยกเว้นตำบลทุ่งคอก ตำบลหนองบ่อ และตำบลบ่อสุพรรณ) · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภออู่ทอง, อำเภอสองพี่น้อง (เฉพาะตำบลทุ่งคอก ตำบลหนองบ่อ และตำบลบ่อสุพรรณ) และอำเภอดอนเจดีย์ (เฉพาะตำบลสระกระโจม) · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอสามชุก, อำเภอศรีประจันต์, อำเภอดอนเจดีย์ (เฉพาะตำบลดอนเจดีย์ ตำบลหนองสาหร่าย และตำบลทะเลบก) และอำเภอหนองหญ้าไซ (เฉพาะตำบลหนองหญ้าไซและตำบลหนองโพธิ์) · เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอด่านช้าง, อำเภอเดิมบางนางบวช และอำเภอหนองหญ้าไซ (ยกเว้นตำบลหนองหญ้าไซและตำบลหนองโพธิ์) |
5 คน (เขตละ 1 คน) | |
พ.ศ. 2557 | |||
พ.ศ. 2562 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสุพรรณบุรีและอำเภอบางปลาม้า (ยกเว้นตำบลวังน้ำเย็น ตำบลมะขามล้ม ตำบลวัดโบสถ์ ตำบลบางใหญ่ ตำบลกฤษณา และตำบลสาลี) · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอสองพี่น้อง, อำเภออู่ทอง (ยกเว้นตำบลอู่ทอง ตำบลหนองโอ่ง ตำบลดอนคา ตำบลพลับพลาไชย และตำบลบ้านโข้ง) และอำเภอบางปลาม้า (เฉพาะตำบลวังน้ำเย็น ตำบลมะขามล้ม ตำบลวัดโบสถ์ ตำบลบางใหญ่ ตำบลกฤษณา และตำบลสาลี) · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอสามชุก, อำเภอศรีประจันต์, อำเภอดอนเจดีย์ (เฉพาะตำบลไร่รถ ตำบลดอนเจดีย์ และตำบลหนองสาหร่าย) และอำเภออู่ทอง (เฉพาะตำบลอู่ทอง ตำบลหนองโอ่ง ตำบลดอนคา ตำบลพลับพลาไชย และตำบลบ้านโข้ง) · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอด่านช้าง, อำเภอเดิมบางนางบวช, อำเภอหนองหญ้าไซ และอำเภอดอนเจดีย์ (เฉพาะตำบลทะเลบกและตำบลสระกระโจม) |
4 คน (เขตละ 1 คน) | |
พ.ศ. 2566 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสุพรรณบุรี · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอบางปลาม้าและอำเภอสองพี่น้อง (ยกเว้นตำบลหนองบ่อ ตำบลบ่อสุพรรณ และตำบลทุ่งคอก) · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภออู่ทองและอำเภอสองพี่น้อง (เฉพาะตำบลหนองบ่อ ตำบลบ่อสุพรรณ และตำบลทุ่งคอก) · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอด่านช้าง, อำเภอเดิมบางนางบวช และอำเภอหนองหญ้าไซ (ยกเว้นตำบลหนองราชวัตรและตำบลหนองหญ้าไซ) · เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอสามชุก, อำเภอศรีประจันต์, อำเภอดอนเจดีย์ และอำเภอหนองหญ้าไซ (เฉพาะตำบลหนองราชวัตรและตำบลหนองหญ้าไซ) |
5 คน (เขตละ 1 คน) |
รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต
[แก้]ชุดที่ 1–3; พ.ศ. 2476–2481
[แก้]ชุดที่ | การเลือกตั้ง | เขตเลือกตั้งที่ 1 |
ชุดที่ 1 | พ.ศ. 2476 | นายมนูญ บริสุทธิ์ |
ชุดที่ 2 | พ.ศ. 2480 | นายสว่าง สนิทพันธ์ |
ชุดที่ 3 | พ.ศ. 2481 | นายสว่าง สนิทพันธ์ (เสียชีวิต ปี 2487) |
นายแสวง สนิทพันธ์ (แทนนายสว่าง) |
ชุดที่ 4; พ.ศ. 2489
[แก้]เขต | มกราคม พ.ศ. 2489 | สิงหาคม พ.ศ. 2489 เลือกตั้งเพิ่มเติม |
1 | หลวงชายภูเบศร์ | นายกมล ชลศึกษ์ |
2 | – | นายสนิท บริสุทธิ์ |
ชุดที่ 5–7; พ.ศ. 2491–2495
[แก้]ชุดที่ | การเลือกตั้ง | เขตเลือกตั้งที่ 1 | |
ชุดที่ 5 | พ.ศ. 2491 | ขุนวีระประศาสน์ | นายขวัญชัย ภมรพล |
พ.ศ. 2492 | – (เลือกตั้งเพิ่มเติม) | ||
ชุดที่ 7 | พ.ศ. 2495 | เรือเอก พระสาครบุรานุรักษ์ | นายสานนท์ สายสว่าง |
ชุดที่ 8–9; พ.ศ. 2500
[แก้]ชุดที่ | การเลือกตั้ง | เขตเลือกตั้งที่ 1 | ||
ชุดที่ 8 | กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 | นายพีร์ บุนนาค | นายทองหยด จิตตะวีระ | นายถวิล วัฎฎานนท์ |
ชุดที่ 9 | ธันวาคม พ.ศ. 2500 | นายพีร์ บุนนาค | นายทองหยด จิตตะวีระ | นายบุญเอื้อ ประเสริฐสุวรรณ |
ชุดที่ 10; พ.ศ. 2512
[แก้]- พรรคสหประชาไทย
- ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ลำดับ | ชุดที่ 10 พ.ศ. 2512 |
1 | นายสุจิตต์ ศีลาเจริญ |
2 | นายวิภาส อินสว่าง |
3 | นายทองหยด จิตตะวีระ |
4 | นายบุญเอื้อ ประเสริฐสุวรรณ |
ชุดที่ 11–18; พ.ศ. 2518–2535
[แก้]ชุดที่ | การเลือกตั้ง | เขตเลือกตั้งที่ 1 | เขตเลือกตั้งที่ 2 | |||
ชุดที่ 11 | พ.ศ. 2518 | นายบุญเอื้อ ประเสริฐสุวรรณ | นายทองหยด จิตตวีระ | นายวิรัช วัฒนไกร | นายประภัตร โพธสุธน | นายพีร์ บุนนาค |
ชุดที่ 12 | พ.ศ. 2519 | นายบรรหาร ศิลปอาชา | นายทองหยด จิตตวีระ | นายไพศาล แสนใจงาม | นายสกนธ์ วัชราไทย | |
ชุดที่ 13 | พ.ศ. 2522 | นายชุมพล ศิลปอาชา | นายบุญเอื้อ ประเสริฐสุวรรณ | นายประมวล สุวรรณเกิด | ||
ชุดที่ 14 | พ.ศ. 2526 | นายบรรหาร ศิลปอาชา | นายจองชัย เที่ยงธรรม | |||
ชุดที่ 15 | พ.ศ. 2529 | นายจองชัย เที่ยงธรรม | ||||
ชุดที่ 16 | พ.ศ. 2531 | นายจองชัย เที่ยงธรรม | ||||
ชุดที่ 17 | มีนาคม พ.ศ. 2535 | |||||
ชุดที่ 18 | กันยายน พ.ศ. 2535 |
ชุดที่ 19–20; พ.ศ. 2538–2539
[แก้]เขต | ชุดที่ 19 พ.ศ. 2538 | ชุดที่ 20 พ.ศ. 2539 |
1 | นายบรรหาร ศิลปอาชา | |
นายบุญเอื้อ ประเสริฐสุวรรณ | นายณัฐวุฒิ ประเสริฐสุวรรณ | |
นายชุมพล ศิลปอาชา | นายชุมพล ศิลปอาชา (ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งใหม่) | |
2 | นางสาวกัญจนา ศิลปอาชา | |
นายประภัตร โพธสุธน | ||
นายจองชัย เที่ยงธรรม |
ชุดที่ 21–22; พ.ศ. 2544–2548
[แก้]เขต | ชุดที่ 21 พ.ศ. 2544 | ชุดที่ 22 พ.ศ. 2548 |
1 | นายวราวุธ ศิลปอาชา | |
2 | นางสาวกัญจนา ศิลปอาชา | |
3 | นายณัฐวุฒิ ประเสริฐสุวรรณ | |
4 | นายบรรหาร ศิลปอาชา | |
5 | นายประภัตร โพธสุธน | นายยุทธนา โพธสุธน |
6 | นายจองชัย เที่ยงธรรม | นายเสมอกัน เที่ยงธรรม |
ชุดที่ 23; พ.ศ. 2550
[แก้]เขต | ชุดที่ 23 พ.ศ. 2550 [3] | |
1 | นายบรรหาร ศิลปอาชา (ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี) | นายนพดล มาตรศรี (แทนนายบรรหาร) |
นายณัฐวุฒิ ประเสริฐสุวรรณ (ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี) | นายนิติวัฒน์ จันทร์สว่าง (แทนนายณัฐวุฒิ) | |
นายวราวุธ ศิลปอาชา (ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี) | นายชาญชัย ประเสริฐสุวรรณ (แทนนายวราวุธ) | |
2 | นายเสมอกัน เที่ยงธรรม (ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี) | นางสาวพัชรี โพธสุธน (แทนนายเสมอกัน) |
นายยุทธนา โพธสุธน (ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี) | นายเจรจา เที่ยงธรรม (แทนนายยุทธนา) |
ชุดที่ 24–26; พ.ศ. 2554–2566
[แก้]เขต | ชุดที่ 24 พ.ศ. 2554 | ชุดที่ 25 พ.ศ. 2562 | ชุดที่ 26 พ.ศ. 2566 |
1 | นายสรชัด สุจิตต์ | ||
2 | นายชาญชัย ประเสริฐสุวรรณ | นายณัฐวุฒิ ประเสริฐสุวรรณ | |
3 | นายนพดล มาตรศรี | นายประภัตร โพธสุธน | นายนพดล มาตรศรี |
4 | นางสาวพัชรี โพธสุธน | นายเสมอกัน เที่ยงธรรม | |
5 | นายสหรัฐ กุลศรี | ยุบเขต 5 | นายประภัตร โพธสุธน |
รูปภาพ
[แก้]-
นายมนูญ บริสุทธิ์
-
นายทองหยด จิตตวีระ
-
พลตรี บุญเอื้อ ประเสริฐสุวรรณ
-
นายประภัตร โพธสุธน
-
นายบรรหาร ศิลปอาชา
-
นายชุมพล ศิลปอาชา
-
นางสาวกัญจนา ศิลปอาชา
-
นายณัฐวุฒิ ประเสริฐสุวรรณ
-
นายวราวุธ ศิลปอาชา
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งและเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัดจะพึงมี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 140 (14 ก): 38–42. 3 มีนาคม 2566.
- ↑ อาร์วายทีไนน์,สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจากการเลือกตั้งครั้งแรก
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา,ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งแทนตำแหน่งที่ว่าง,เล่ม ๑๒๖ ตอนที่ ๔ ก, ๒๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๒, หน้า ๙
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- คณะกรรมการการเลือกตั้งจังหวัดสุพรรณบุรี เก็บถาวร 2011-08-30 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน