ข้ามไปเนื้อหา

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดราชบุรี

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
จังหวัดราชบุรี
เขตเลือกตั้งในปัจจุบัน
จำนวนเขต5
คะแนนเสียง136,522 (พลังประชารัฐ)
121,907 (รวมไทยสร้างชาติ)
เขตเลือกตั้งปัจจุบัน
ก่อตั้งพ.ศ. 2476
ที่นั่งกล้าธรรม (3)
รวมไทยสร้างชาติ (2)
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรดูในบทความ

จังหวัดราชบุรี มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 5 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ. 2566)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 5 คน จากทั้งหมด 400 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย

ประวัติศาสตร์

[แก้]

หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยจังหวัดราชบุรีมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนแรก คือ นายกิมเส็ง (โกศล) สินธุเสก

เขตเลือกตั้ง

[แก้]
การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้ง แผนที่ จำนวน ส.ส.
พ.ศ. 2476 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด 1 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2480
พ.ศ. 2481
พ.ศ. 2489
พ.ศ. 2491
พ.ศ. 2492
พ.ศ. 2495 2 คน (เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2500/1 3 คน (เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2500/2
พ.ศ. 2512
พ.ศ. 2518 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอบ้านโป่ง, อำเภอโพธาราม, อำเภอจอมบึง, อำเภอบางแพ และกิ่งอำเภอสวนผึ้ง
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเมืองราชบุรี, อำเภอดำเนินสะดวก, อำเภอวัดเพลง และอำเภอปากท่อ
4 คน (2 เขต เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2519
พ.ศ. 2522
พ.ศ. 2526
พ.ศ. 2529 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอบ้านโป่ง, อำเภอโพธาราม, อำเภอจอมบึง, อำเภอบางแพ และอำเภอดำเนินสะดวก
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเมืองราชบุรี, อำเภอวัดเพลง, อำเภอปากท่อ และอำเภอสวนผึ้ง
5 คน (เขต 1 เขตละ 3 คน และเขต 2 เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2531
พ.ศ. 2535/1
พ.ศ. 2535/2
พ.ศ. 2538
พ.ศ. 2539
พ.ศ. 2544 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองราชบุรี (ยกเว้นตำบลน้ำพุ ตำบลห้วยไผ่ ตำบลดอนแร่ และตำบลอ่างทอง)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอสวนผึ้ง, อำเภอปากท่อ, อำเภอวัดเพลง, อำเภอเมืองราชบุรี (เฉพาะตำบลน้ำพุ ตำบลห้วยไผ่ ตำบลดอนแร่ และตำบลอ่างทอง), อำเภอจอมบึง (เฉพาะตำบลรางบัว) และกิ่งอำเภอบ้านคา
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอจอมบึง (ยกเว้นตำบลรางบัว) และอำเภอโพธาราม (ยกเว้นตำบลบ้านฆ้องและตำบลบ้านสิงห์)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอบ้านโป่ง
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอดำเนินสะดวก, อำเภอบางแพ และอำเภอโพธาราม (เฉพาะตำบลบ้านฆ้องและตำบลบ้านสิงห์)
5 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2550 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอบ้านโป่ง, อำเภอโพธาราม, อำเภอจอมบึง, อำเภอบางแพ และอำเภอดำเนินสะดวก
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเมืองราชบุรี, อำเภอวัดเพลง, อำเภอปากท่อ, อำเภอบ้านคา และอำเภอสวนผึ้ง
5 คน (เขต 1 เขตละ 3 คน และเขต 2 เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2554 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองราชบุรี (ยกเว้นตำบลอ่างทอง ตำบลดอนแร่ ตำบลห้วยไผ่ และตำบลน้ำพุ)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอสวนผึ้ง, อำเภอบ้านคา, อำเภอปากท่อ, อำเภอวัดเพลง และอำเภอเมืองราชบุรี (เฉพาะตำบลอ่างทอง ตำบลดอนแร่ ตำบลห้วยไผ่ และตำบลน้ำพุ)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอจอมบึงและอำเภอโพธาราม (ยกเว้นตำบลบ้านฆ้อง ตำบลบ้านสิงห์ และตำบลดอนทราย)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอบ้านโป่ง
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอดำเนินสะดวก, อำเภอบางแพ และอำเภอโพธาราม (เฉพาะตำบลบ้านฆ้อง ตำบลบ้านสิงห์ และตำบลดอนทราย)
5 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2562
พ.ศ. 2566

รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต

[แก้]

ชุดที่ 1–5; พ.ศ. 2476–2492

[แก้]
      พรรคแนวรัฐธรรมนูญ
      พรรคประชาธิปัตย์
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 1 พ.ศ. 2476 นายกิมเส็ง (โกศล) สินธุเสก
ชุดที่ 2 พ.ศ. 2480
ชุดที่ 3 พ.ศ. 2481 นายทองดี จันทรกุล
ชุดที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2489 นายเทียม ณ สงขลา
สิงหาคม พ.ศ. 2489 นายใย อุลิศ (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
ชุดที่ 5 พ.ศ. 2491 นายปฐม โพธิ์แก้ว
พ.ศ. 2492 นายโกศล สินธุเสก (เลือกตั้งเพิ่มเติม)

ชุดที่ 7; พ.ศ. 2495

[แก้]
ลำดับ ชุดที่ 7 พ.ศ. 2495
1 นายสมศักดิ์ สมบูรณ์ทรัพย์
2 นายเทียม ณ สงขลา

ชุดที่ 8–10; พ.ศ. 2500–2512

[แก้]
      พรรคเสรีมนังคศิลา
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคสหประชาไทย
      ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 นายสมศักดิ์ สมบูรณ์ทรัพย์ นายเทียม ณ สงขลา นายปฐม โพธิ์แก้ว
ชุดที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2500 นายสมศักดิ์ สมบูรณ์ทรัพย์ ร้อยเอก ประลอง บูชา
ชุดที่ 10 พ.ศ. 2512 นายจรูญ วัฒนากร นายทวิช กลิ่นประทุม นายวินิจ วังตาล

ชุดที่ 11–14; พ.ศ. 2518–2526

[แก้]
      พรรคเกษตรกร
      พรรคธรรมสังคม
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคชาติไทย
      พรรคสยามประชาธิปไตย
      พรรคประชาไทยพรรคชาติไทย
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1 เขตเลือกตั้งที่ 2
ชุดที่ 11 พ.ศ. 2518 นายสมศักดิ์ สมบูรณ์ทรัพย์ นายวินิจ วังตาล นายจรูญ วัฒนากร นายนิพนธ์ ศศิธร
ชุดที่ 12 พ.ศ. 2519 ร้อยตรี ธรรมนูญ ตัณฑะเตมีย์ นายนิพนธ์ ศศิธร นายจรูญ วัฒนากร นายทวิช กลิ่นประทุม
ชุดที่ 13 พ.ศ. 2522 นายทวี ไกรคุปต์
(ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งใหม่)
นายจิระ มังคลรังษี นายจรูญ วัฒนากร ร้อยตำรวจโท เชาวริน ลัทธศักดิ์ศิริ
(ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งใหม่)
ชุดที่ 14 พ.ศ. 2526 นายทวี ไกรคุปต์ นายจิระ มังคลรังษี นายจรูญ วัฒนากร
(เสียชีวิต/ไม่มีเลือกตั้งใหม่)[2]
ร้อยตำรวจโทเชาวริน ลัทธศักดิ์ศิริ

ชุดที่ 15–20; พ.ศ. 2529–2539

[แก้]
      พรรคชาติไทย
      พรรคกิจสังคม
      พรรคปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525)
      พรรคพลังธรรม
      พรรคความหวังใหม่
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคนำไทย
      พรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1 เขตเลือกตั้งที่ 2
ชุดที่ 15 พ.ศ. 2529 นายสรอรรถ กลิ่นประทุม นายจิระ มังคลรังษี นายทวี ไกรคุปต์ นายทวิช กลิ่นประทุม ร้อยตำรวจโท เชาวริน ลัทธศักดิ์ศิริ
ชุดที่ 16 พ.ศ. 2531 พันเอก วินัย เจริญจันทร์
ชุดที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2535 นายขจรศักดิ์ จินตานนท์ นางสาวกุสุมา ศรสุวรรณ ร้อยตำรวจโท เชาวริน ลัทธศักดิ์ศิริ
ชุดที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2535 นายจิระ มังคลรังษี นายทวี ไกรคุปต์
ชุดที่ 19 พ.ศ. 2538 นายวิจัย วัฒนาประสิทธิ์ นายทวี ไกรคุปต์ นายบุญมาก ศิริเนาวกุล
ชุดที่ 20 พ.ศ. 2539 นายสรอรรถ กลิ่นประทุม นายวิจัย วัฒนาประสิทธิ์ นายวิเชษฐ์ เกษมทองศรี

ชุดที่ 21–22; พ.ศ. 2544–2548

[แก้]
      พรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)พรรคไทยรักไทย
      พรรคไทยรักไทย
      พรรคประชาธิปัตย์
เขต ชุดที่ 21 พ.ศ. 2544 ชุดที่ 22 พ.ศ. 2548
1 นางกอบกุล นพอมรบดี
( / เลือกตั้งใหม่)
นางกอบกุล นพอมรบดี
2 นายวิวัฒน์ นิติกาญจนา
3 นางประไพพรรณ เส็งประเสริฐ นางสาวปารีณา ไกรคุปต์
4 นายวิจัย วัฒนาประสิทธิ์ นายวัฒนา มังคลรังษี
5 นายบุญลือ ประเสริฐโสภา

ชุดที่ 23; พ.ศ. 2550

[แก้]
      พรรคพลังประชาชน (พ.ศ. 2541)
      พรรคชาติไทยพรรคชาติไทยพัฒนา
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคมัชฌิมาธิปไตยพรรคภูมิใจไทย
เขต ชุดที่ 23 พ.ศ. 2550
1 นายบุญลือ ประเสริฐโสภา
(ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี)
นายยศศักดิ์ ชีววิญญู
(แทนนายบุญลือ)
นางปารีณา ปาจรียางกูร
นางสาวปรีชญา ขำเจริญ
2 นายมานิต นพอมรบดี
นายสามารถ พิริยะปัญญาพร

ชุดที่ 24–26; พ.ศ. 2554–2566

[แก้]
      พรรคภูมิใจไทย
      พรรคชาติไทยพัฒนา
      พรรคพลังประชารัฐ
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรครวมไทยสร้างชาติ
      พรรคพลังประชารัฐพรรคกล้าธรรม
เขต ชุดที่ 24 พ.ศ. 2554 ชุดที่ 25 พ.ศ. 2562 ชุดที่ 26 พ.ศ. 2566
1 นายมานิต นพอมรบดี นางสาวกุลวลี นพอมรบดี นางสาวกุลวลี นพอมรบดี
2 นางบุญยิ่ง นิติกาญจนา นางบุญยิ่ง นิติกาญจนา นางบุญยิ่ง นิติกาญจนา
3 นางปารีณา ไกรคุปต์ นางสาวปารีณา ไกรคุปต์
(ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมืองตลอดชีวิต / พ้นจากตำแหน่งตามคำพิพากษาศาลฎีกา)
นายจตุพร กมลพันธ์ทิพย์
นายชัยทิพย์ กมลพันธ์ทิพย์
(แทนนางสาวปารีณา)
4 นางสาวชะวรลัทธิ์ ชินธรรมมิตร นายอัครเดช วงษ์พิทักษ์โรจน์ นายอัครเดช วงษ์พิทักษ์โรจน์
5 นายบุญดำรง ประเสริฐโสภา นายบุญลือ ประเสริฐโสภา นายชัยทิพย์ กมลพันธ์ทิพย์

รูปภาพ

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งและเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัดจะพึงมี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 140 (14 ก): 38–42. 3 มีนาคม 2566.
  2. พระราชกฤษฎีกาให้เลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดราชบุรี ขึ้นแทนตำแหน่งที่ว่าง พ.ศ. ๒๕๒๙ (นายจรูญ วัฒนากร ถึงแก่กรรม จึงกำหนดวันเลือกตั้งขึ้นแทนตำแหน่งที่ว่าง ในวันที่ ๑๘ พฤษภาคม ๒๕๒๙)

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]