สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดธนบุรี
หน้าตา
อดีตเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร | |
---|---|
จังหวัดธนบุรี | |
จำนวนเขต | 1 |
เขตเลือกตั้งครั้งก่อน | |
ก่อตั้ง | พ.ศ. 2476 |
ยุบเลิก | พ.ศ. 2514 |
ที่นั่ง | ประชาธิปัตย์ (6) |
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร | พลเรือเอก สวัสดิ์ ภูติอนันต์ ไถง สุวรรณทัต พลเรือตรี ทหาร ขำหิรัญ มนัส สุวรรณทัต ชาย สัจจะ พลเรือเอก หลวงชลธารพฤฒิไกร |
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดธนบุรี
ประวัติศาสตร์
[แก้]หลังจากประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 จึงมีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรก เมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 โดยการเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยจังหวัดธนบุรีมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนแรก คือ นายทองอยู่ พุฒพัฒน์[1]
- นักการเมืองที่ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมากครั้งที่สุด คือ 5 สมัย ได้แก่ นายไถง สุวรรณทัต
- ตระกูลการเมืองที่ได้รับเลือกตั้งมากที่สุด คือ
- สุวรรณทัต (2 คน) ได้แก่ นายไถง สุวรรณทัต และนายมนัส สุวรรณทัต
เขตการเลือกตั้ง
[แก้]การเลือกตั้ง | เขตการเลือกตั้ง | จำนวน ส.ส. |
พ.ศ. 2476 | เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด | 1 คน (เขตละ 1 คน) |
พ.ศ. 2480 | ||
พ.ศ. 2481 | ||
พ.ศ. 2489 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอธนบุรี, อำเภอราษฎร์บูรณะ, อำเภอบางขุนเทียน, อำเภอภาษีเจริญ และอำเภอตลิ่งชัน · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอบางกอกน้อย, อำเภอบางกรวย, อำเภอบางใหญ่ และอำเภอบางบัวทอง · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอสมุทรสาคร, อำเภอกระทุ่มแบน และอำเภอบ้านแพ้ว |
2 คน (เขตละ 1 คน) |
พ.ศ. 2491 | เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด | 1 คน (เขตละ 1 คน) |
พ.ศ. 2492 | ||
พ.ศ. 2495 | 2 คน (เขตละ 2 คน) | |
พ.ศ. 2500/1 | 3 คน (เขตละ 3 คน) | |
พ.ศ. 2500/2 | ||
พ.ศ. 2512 | 6 คน (เขตละ 6 คน) |
รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต
[แก้]ชุดที่ 1–3; พ.ศ. 2476–2481
[แก้]ชุดที่ | การเลือกตั้ง | เขตเลือกตั้งที่ 1 |
ชุดที่ 1 | พ.ศ. 2476 | นายทองอยู่ พุฒพัฒน์ |
ชุดที่ 2 | พ.ศ. 2480 | |
ชุดที่ 3 | พ.ศ. 2481 | นายกวดหุ้มแพร (โต สุจริตกุล) |
ชุดที่ 4; พ.ศ. 2489
[แก้]- พรรคก้าวหน้า (พ.ศ. 2488) → พรรคประชาธิปัตย์
- พรรคอิสระ (พ.ศ. 2488)
- พรรคประชาธิปัตย์
- พรรคแนวรัฐธรรมนูญ
เขต | มกราคม พ.ศ. 2489 | สิงหาคม พ.ศ. 2489 เลือกตั้งเพิ่มเติม |
1 | นายสอ เศรษฐบุตร | นายเลื่อน ศราภัยวณิช |
2 | นายวิรัช พึ่งสุนทร | นายสุเทพ รัตนเสวี |
3 | – | นายพร มลิทอง |
ชุดที่ 5; พ.ศ. 2491–2492
[แก้]ชุดที่ | การเลือกตั้ง | เขตเลือกตั้งที่ 1 |
ชุดที่ 5 | พ.ศ. 2491 | นายไถง สุวรรณทัต |
พ.ศ. 2492 | นายเพทาย โชตินุชิต (เลือกตั้งเพิ่มเติม) |
ชุดที่ 7; พ.ศ. 2495
[แก้]ลำดับ | ชุดที่ 7 พ.ศ. 2495 |
1 | นายไถง สุวรรณทัต |
2 | นายเพทาย โชตินุชิต |
ชุดที่ 8–9; พ.ศ. 2500
[แก้]ชุดที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 | ชุดที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2500 |
นายไถง สุวรรณทัต | |
นายมนัส สุวรรณทัต | |
นายสุริยะ ขีตตะสังคะ | พลเรือตรี ทหาร ขำหิรัญ |
- | พลเรือตรี ชลี สินธุโสภณ (เลือกตั้งเพิ่มเติม) |
- | นายประสิทธิ์ แย้มเพียร (เลือกตั้งเพิ่มเติม) |
- | นายชาย สัจจะ (เลือกตั้งเพิ่มเติม) |
ชุดที่ 10; พ.ศ. 2512
[แก้]ลำดับ | ชุดที่ 10 พ.ศ. 2512 |
1 | พลเรือเอก สวัสดิ์ ภูติอนันต์ |
2 | นายไถง สุวรรณทัต |
3 | พลเรือตรี ทหาร ขำหิรัญ |
4 | นายมนัส สุวรรณทัต |
5 | นายชาย สัจจะ |
6 | พลเรือเอก หลวงชลธารพฤฒิไกร (พงษ์ อาศนะเสน) |
รูปภาพ
[แก้]-
นายสอ เสถบุตร
-
พระยาศราภัยพิพัฒ (เลื่อน ศราภัยวานิช)
อ้างอิง
[แก้]- ↑ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจากการเลือกตั้งครั้งแรก จาก เว็บไซต์ สำนักข่าวออนไลน์อาร์วายทีไนน์