รายพระนามและชื่ออภิรัฐมนตรีและองคมนตรีไทย
รายพระนามและชื่ออภิรัฐมนตรีและองคมนตรีไทย
รัชกาลที่ 5
[แก้]ใน พ.ศ. 2435 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงประกาศตั้งองคมนตรีในพระราชพิธีศรีสัจปานกาลพระราชทานพระไชยวัฒน์ องค์เล็ก และเครื่องราชอิสริยาภรณ์และตั้งองคมนตรี[1]
- พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงพรหมวรานุรักษ์
- พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวัชรีวงศ์
- พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลังการ
- เจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรี (เจิม แสง-ชูโต)
- เจ้าพระยาวิชิตวงศ์วุฒิไกร (หม่อมราชวงศ์คลี่ สุทัศน์)
ใน พ.ศ. 2438 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงประกาศตั้งองคมนตรีในพระราชพิธีศรีสัจปานกาลและตั้งองคมนตรี [2]
- พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ
- พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์
- พระยาพิพิธโภไคสวรรย์
- พระยาฤทธิรงค์รณเฉท
ใน พ.ศ. 2439 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงประกาศตั้งองคมนตรีในพระราชพิธีศรีสัจปานกาลและตั้งองคมนตรี [3]
- พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงปราจิณกิติบดี
- พระยาอินทรเทพ
- พระยาพิเรนทรเทพ
- พระยาจ่าแสนยบดีศรีบริบาล (ชิต สุนทรวร)
- พระยาราชเสนาปลัดทูลฉลอง
รัชกาลที่ 6
[แก้]เมื่อ พ.ศ. 2453 ทรงประกาศแต่งตั้งองคมนตรี จำนวน 9 ราย ดังนี้[4]
- พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจรูญศักดิ์กฤดากร
- เจ้าพระยาวงษานุประพัทธ์ (หม่อมราชวงศ์สท้าน สนิทวงศ์)
- พระยาไกรเพ็ชร์รัตนสงคราม (แฉ่ บุนนาค)
- เจ้าพระยาวรพงศ์พิพัฒน์ (หม่อมราชวงศ์เย็น อิศรเสนา)
- พระยาบุรุษรัตนราชพัลลภ (นพ ไกรฤกษ์)
- เจ้าพระยาศรีวิไชยชนินทร์ (ชม สุนทรารชุน)
- พระยาสุรเสนา (หม่อมราชวงศ์ชิต กำภู)
- พระยารัษฎานุประดิษฐ์มหิศรภักดี (คอซิมบี๊ ณ ระนอง)
- เจ้าพระยาธรรมาธิกรณาธิบดี (หม่อมราชวงศ์ปุ้ม มาลากุล)
เมื่อ พ.ศ. 2459 ทรงประกาศแต่งตั้งองคมนตรี จำนวน 23 ราย ดังนี้[5]
- พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นราชศักดิ์สโมสร
- พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นอนุพงษ์จักรพรรดิ์
- พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นอนุวัตน์จาตุรนต์
- พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นภาณุพงศ์พิริยเดช
- หม่อมเจ้าสุธาสิโนทัย เทวกุล
- เจ้าพระยาสุรสีห์วิสิษฐศักดิ์
- พระยาวิศุกรรมศิลปประสิทธิ์
- พระยาศรีกฤดากร
- พระยาสโมสรสรรพการ
- พระยาราชมนตรี
- พระยาคทาธรบดีสีหราชบาลเมือง
- พระยาพิพิธเดชะ
- พระยาธรรมสารเนติวิเชตภักดี
- พระยาธรรมสารเวทย์วิเศษภักดี
- พระยาเผด็จดุลบดี
- พระยาอภัยรณฤทธิ์ (จอมถวิล อมาตยกุล)
- พระยาเสถียรสุรประเพณี
- พระยาอัพภันตริกามาตย์
- พระยาอุเทนเทพโกสินทร์
- พระยาไพบูลย์สมบัติ
- พระยาสุจริตธำรง
- พระยาศรีสุริยพาห
- พระยาบริรักษ์จัตุรงค์
เมื่อ พ.ศ. 2460 ทรงประกาศแต่งตั้งองคมนตรี จำนวน 25 ราย ดังนี้[6]
- พระราชวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุทัศน์นิภาธร
- หม่อมเจ้าพันธุประวัติ
- พระยาสุริยานุวัตร์
- พระยาอนิรุทธเทวา (หม่อมหลวงฟื้น พึ่งบุญ)
- พระยาบริบูรณ์ราชสมบัติ
- พระยาสวัสดิ์วรวิถี
- พระยาตราชูชาดิศร
- พระยาศรีสรราชภักดี
- พระยานรรัตน์ราชมานิต
- พระยาอนุรักษ์ราชมณเฑียร
- พระยาเทพหัสดิน (ผาด เทพหัสดิน ณ อยุธยา)
- พระยาสุรราชฤทธานนท์
- พระยาเทพาธิบดี
- พระยาราชมานู (ถั่ว อัศวเสนา)
- พระยากำแหงรณฤทธิ์
- พระยาประเสริฐศุภกิจ
- พระยาอัศวบดีศรีสุรพาหน
- พระยาเพชร์รัตน์สงคราม
- พระยาไพศาลศิลปสาตร์
- พระยาราชสมบัติ (เอิบ บุรานนท์) ท.จ., น.ช., ม.ม., ร.จ.พ.
- พระยาเทพรัตน์นรินทร์
- พระยาพิพากษาสัตยาธิปตัย
- พระยาพิจารณาปฤชามาตย์
- พระยาจรรยายุตกฤตย์
- พระยามหาวินิจฉัยมนตรี
รัชกาลที่ 7
[แก้]พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงตั้งอภิรัฐมนตรีสภา โดยอภิรัฐมนตรีชุดแรกที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งตามพระราชดำรัสเมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468 ณ พระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัยนั้น ประกอบด้วยพระบรมวงศ์ 5 พระองค์ คือ
- ตำแหน่ง: อภิรัฐมนตรี
ลำดับ | รายนามและรายพระนาม | เริ่มวาระ | สิ้นสุดวาระ | หมายเหตุ |
1 | สมเด็จพระราชปิตุลา บรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช | พ.ศ. 2468 | พ.ศ. 2471 | อภิรัฐมนตรี |
2 | สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต | พ.ศ. 2468 | พ.ศ. 2475 | อภิรัฐมนตรี |
3 | สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ | พ.ศ. 2468 | พ.ศ. 2475 | อภิรัฐมนตรี |
4 | สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ | พ.ศ. 2468 | พ.ศ. 2475 | อภิรัฐมนตรี |
5 | พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ | พ.ศ. 2468 | พ.ศ. 2475 | อภิรัฐมนตรี |
ตำแหน่ง : องคมนตรี
- จางวางเอก เจ้าพระยารามราฆพ (ม.ล.เฟื้อ พึ่งบุญ ณ อยุธยา) 4 เมษายน พ.ศ. 2469[7] ไม่มีวาระกำหนดเวลา ตามพระราชนิยมเดิม แบบเดียวกับในสมัยรัชกาลที่ 6
- ตำแหน่ง: กรรมการองคมนตรี
(2 กันยายน 2470 - 31 มีนาคม 2474) [8]
- พระราชวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์
- พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทศศิริวงศ์
- พลเอก พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช
- พลโท หม่อมเจ้าเสรฐศิริ กฤดากร
- หม่อมเจ้าสิทธิพร กฤดากร
- พลโท หม่อมเจ้าอมรทัต กฤดากร
- พลเรือเอก หม่อมเจ้าอุปพัทธพงศ์ ศรีธวัช
- เจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม)
- พลเอก เจ้าพระยาวงษานุประพัทธ์ (หม่อมราชวงศ์สท้าน สนิทวงศ์)
- เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา)
- พลเอก เจ้าพระยาบดินทรเดชานุชิต (แย้ม ณ นคร)
- เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา)
- พระยาโชฎึกราชเศรษฐี (มิ้น เลาหเศรษฐี)
- พระยาเทพวิทุรพหุลศรุตบดี (บุญช่วย วณิกกุล)
- พลเอก พระยาเทพหัสดิน (ผาด เทพหัสดิน ณ อยุธยา)
- พระยาเทพอรชุน (อุ่ม อินทรโยธิน)
- พระยาบริบูรณ์ราชสมบัติ (หม่อมราชวงศ์มูล ดารากร)
- พระยาเผด็จดุลบดี (เลียบ อรรถยุกติ)
- พระยาเพชรดา (สอาด ณ ป้อมเพ็ชร์)
- พระยาไพศาลศิลปสาตร์ (รื่น ศยามานนท์)
- พระยามโนปกรณ์นิติธาดา (ก้อน หุตะสิงห์)
- พระยามโหสถศรีพิพัฒน์ (เชิญ ปริชญานนท์)
- พระยาวิสูตรสาครดิฐ (สาย โชติกเสถียร)
- พระยาศรีธรรมาธิราช (เจิม บุณยรัตพันธุ์)
- พระยาจ่าแสนยบดีศรีบริบาล (ชิต สุนทรวร)
- พระยาศุภกรณ์บรรณสาร (นุ่ม วสุธาร)
- พระยาสุรินทราชา (นกยูง วิเศษกุล)
- พระยาสุริยานุวัตร (เกิด บุนนาค)
- พระยาสุพรรณสมบัติ (ติณ บุนนาค)
- พระยาอธิกรณ์ประกาศ (หลุย จาติกวณิช)
- หม่อมเจ้าอลงกฎ ศุขสวัสดิ
- หม่อมเจ้าถาวรมงคลวงศ์ ไชยันต์
- พระยาราชนกูลวิบูลยภักดี (อวบ เปาโรหิตย์)
- พระยาศรีสุริยราชวรานุวัตร (ศุข ดิษยบุตร์)
- พระยาราชวังสัน (ศรี กมลนาวิน)
- พระยามานวราชเสวี (ปลอด วิเชียร ณ สงขลา)
- พระยาเฉลิมอากาศ (สุณี สุวรรณประทีป)
- หม่อมเจ้าดำรัศดำรงค์ เทวกุล
- พระยาอานุภาพไตรภพ (จำรัส เทพหัสดิน ณ อยุธยา)
- พระยาโกมารกุลมนตรี (ชื่น โกมารกุล ณ นคร)
- แต่งตั้งเพิ่มเติม
- พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิวัฒนไชย (3 เมษายน 2471 แทนพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช ที่ไปดำรงตำแหน่งเสนาบดีกระทรวงกลาโหม)
- พระยาสารศาสตร์ศิริลักษณ์ (สรรเสริญ สุขยางค์) (3 เมษายน 2471 แทน พระยาสุพรรณสมบัติ ที่ไปดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูต ประจำกรุงโตเกียว)
- พระยาพิพิธสมบัติ (ตาบ กุวานนท์)
- พระยาศรีธรรมราช (ทองคำ กาญจนโชติ) [9]
- เจ้าพระยาพิชัยญาติ (ดั่น บุนนาค) (3 เมษายน 2472 แทนเจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา) ที่ไปดำรงตำแหน่งเสนาบดีกระทรวงยุติธรรม)
- พระยาศรีวิสารวาจา (หุ่น ฮุนตระกูล) (3 เมษายน 2472 แทน หม่อมเจ้าอมรทัต กฤดากร ที่ไปดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูต ประจำกรุงวอชิงตัน) [10]
(1 เมษายน 2474 - 31 มีนาคม 2476) [11] สิ้นสุดลงเมื่อคณะราษฎรได้มีประกาศยกเลิกพระราชบัญญัติองคมนตรี เมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2475
- พระราชวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์
- หม่อมเจ้าสกลวรรณากร วรวรรณ
- เจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม)
- เจ้าพระยาวงษานุประพัทธ์ (หม่อมราชวงศ์สท้าน สนิทวงศ์)
- เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา)
- เจ้าพระยาบดินทรเดชานุชิต (แย้ม ณ นคร)
- เจ้าพระยาพิชัยญาติ (ดั่น บุนนาค)
- เจ้าพระยาศรีพิพัฒน์ (หม่อมราชวงศ์มูล ดารากร)
- พระยาเทพวิทุรพหุลศรุตาบดี (บุญช่วย วณิกกุล)
- พระยาเทพหัสดิน (ผาด เทพหัสดิน ณ อยุธยา)
- พระยาราชนกูลวิบูลยภักดี (รื่น ศยามานนท์)
- พระยามโนปกรณ์นิติธาดา (ก้อน หุตะสิงห์)
- พระยามโหสถศรีพิพัฒน์ (เชิญ ปริชญานนท์)
- พระยาจ่าแสนยบดีศรีบริบาล (ชิต สุนทรวร)
- พระยาสุรินทราชา (นกยูง วิเศษกุล)
- พระยาสุริยานุวัตร (เกิด บุนนาค)
- พระยาอธิกรณ์ประกาศ (หลุย จาติกวณิช)
- พระยามหาวินิจฉัยมนตรี (เภา ภวมัย)
- พระยาอมเรศร์สมบัติ (ต่วน ศุขะวณิช)
- พระยาพรหมทัตศรีพิลาต (แฉล้ม มิตรานนท์)
- พระยาเมธาธิบดี (สาตร์ สุทธเสถียร)
- พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฎ
- หม่อมเจ้าถาวรมงคลวงศ์ ไชยยันต์
- เจ้าพระยามุขมนตรี (อวบ เปาโรหิตย์)
- พระยาศรีสุริยราชวรานุวัตร (ศุข ดิษยบุตร)
- พระยาราชวังสัน (ศรี กมลนาวิน)
- พระยามานวราชเสวี (ปลอด วิเชียร ณ สงขลา)
- พระยาเฉลิมอากาศ (สุณี สุวรรณประทีป)
- พระยาโบราณราชธานินทร์ (พร เดชะคุปต์)
- พระยาอานุภาพไตรภพ (จำรัส เทพหัสดิน ณ อยุธยา)
- หม่อมเจ้าวิวัฒนไชย ไชยยันต์
- พระยาพิพิธสมบัติ (ตาบ กุวานนท์)
- พระยาสารศาสตร์ศิริลักษณ์ (สรรเสริญ สุขยางค์)
- พระยาศรีวิสารวาจา (หุ่น ฮุนตระกูล)
- หม่อมเจ้าวิบูลย์สวัสดิ์วงศ์ สวัสดิกุล
- พระยาชลมารคพิจารณ์ (หม่อมหลวงพงษ์ สนิทวงศ์)
- พระยากฤตราชทรงสวัสดิ์ (สุดใจ ไกรจิตติ)
- พระยาอัชราชทรงสิริ (แม้น อรุณลักษณ์)
- พระยาวิทุรธรรมพิเนตุ (โต๊ะ อัมระนันทน์)
- พระยาโชฎึกราชเศรษฐี (ผ่อง โชติกะพุกกณะ)
อภิรัฐมนตรีทำหน้าที่จนถึง พ.ศ. 2475
โดยหลังจากที่ได้มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองโดยคณะราษฎร เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475
ได้มีประกาศยกเลิกอภิรัฐมนตรีสภา เมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2475
รัชกาลที่ 8
[แก้]อยู่ในช่วงระหว่างประกาศยกเลิกอภิรัฐมนตรีสภา
รัชกาลที่ 9
[แก้]รายนามองคมนตรีในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
อภิรัฐมนตรี (พ.ศ. 2490 - พ.ศ. 2492)
[แก้]ลำดับ | รายนามและรายพระนาม | เริ่มวาระ[12] | สิ้นสุดวาระ | หมายเหตุ |
1 | สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร | 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 | พ.ศ. 2492 | ประธานอภิรัฐมนตรี |
2 | พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร | 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 | พ.ศ. 2492 | อภิรัฐมนตรี |
3 | พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ | 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 | พ.ศ. 2492 | อภิรัฐมนตรี |
4 | พระยามานวราชเสวี(ปลอด วิเชียร ณ สงขลา) | 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 | พ.ศ. 2492 | อภิรัฐมนตรี |
5 | อดุล อดุลเดชจรัส | 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 | พ.ศ. 2492 | อภิรัฐมนตรี |
พ.ศ. 2492 - 2559
[แก้]องคมนตรี
[แก้]ลำดับ | รูป | รายนามและรายพระนาม | เริ่มวาระ | สิ้นสุดวาระ | สาเหตุการสิ้นสุดวาระ |
1 | พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ | 18 มิถุนายน พ.ศ. 2492 | 13 มีนาคม พ.ศ. 2494 | สิ้นพระชนม์ในตำแหน่ง | |
8 เมษายน พ.ศ. 2495 | 19 ธันวาคม พ.ศ. 2495 | ||||
2 | พระยามานวราชเสวี (ปลอด วิเชียร ณ สงขลา) | 18 มิถุนายน พ.ศ. 2492 | 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494 | ||
8 เมษายน พ.ศ. 2495 | 20 ตุลาคม พ.ศ. 2501 | ||||
24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2502 | 20 มิถุนายน พ.ศ. 2511 | ||||
31 กรกฎาคม พ.ศ. 2511 | 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514 | ||||
15 ธันวาคม พ.ศ. 2515 | 7 ตุลาคม พ.ศ. 2517 | ||||
3 | อดุล อดุลเดชจรัส | 18 มิถุนายน พ.ศ. 2492 | 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494 | ||
4 | พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิวัฒนไชย | 8 เมษายน พ.ศ. 2495 | 20 ตุลาคม พ.ศ. 2501 | สิ้นพระชนม์ในตำแหน่ง | |
24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2502 | 22 สิงหาคม พ.ศ. 2503 | ||||
5 | พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถ | 8 เมษายน พ.ศ. 2495 | 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2496 | สิ้นพระชนม์ในตำแหน่ง | |
6 | เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา) | 8 เมษายน พ.ศ. 2495 | 20 ตุลาคม พ.ศ. 2501 | ถึงแก่อสัญกรรมในตำแหน่ง | |
24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2502 | 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2506 | ||||
8 มิถุนายน พ.ศ. 2506 | 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2506 | ||||
14 กรกฎาคม พ.ศ. 2506 | 20 มิถุนายน พ.ศ. 2511 | ||||
31 กรกฎาคม พ.ศ. 2511 | 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514 | ||||
15 ธันวาคม พ.ศ. 2515 | 25 กันยายน พ.ศ. 2519 | ||||
7 | พระยาศรีวิสารวาจา (เทียนเลี้ยง ฮุนตระกูล) | 8 เมษายน พ.ศ. 2495 | 20 ตุลาคม พ.ศ. 2501 | กราบบังคมทูลลาไปดำรงตำแหน่งเลขาธิการสภาความมั่นคงแห่งชาติ | |
24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2502 | 27 สิงหาคม พ.ศ. 2505 | ||||
8 | หม่อมหลวงเดช สนิทวงศ์ | 24 เมษายน พ.ศ. 2496 | 7 ตุลาคม พ.ศ. 2517 | ไปดำรงตำแหน่งประธานองคมนตรี | |
9 | หลวงเสนาณรงค์ (ศักดิ์ เสนาณรงค์) | 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2498 | 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2498 | ถึงแก่อสัญกรรมในตำแหน่ง | |
10 | พระยาบริรักษ์เวชชการ (ไล่ฮวด ติตติรานนท์) | 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2500 | 26 มีนาคม พ.ศ. 2511 | ถึงแก่อสัญกรรมในตำแหน่ง | |
11 | พระยาศรีเสนา (ศรีเสนา สมบัติศิริ) | 21 มีนาคม พ.ศ. 2501 | 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2525 | ถึงแก่อสัญกรรมในตำแหน่ง | |
12 | หลวงกัมปนาทแสนยากร (กำปั่น อุตระวณิชย์) | 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2503 | 7 ตุลาคม พ.ศ. 2517 | ||
13 | หลวงสุรณรงค์ (ธงไชย โชติกเสถียร) | 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2507 | 18 มกราคม พ.ศ. 2529 | ถึงแก่อสัญกรรมในตำแหน่ง | |
14 | หม่อมทวีวงศ์ถวัลยศักดิ์ (หม่อมราชวงศ์เฉลิมลาภ ทวีวงศ์) | 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2509 | 27 ตุลาคม พ.ศ. 2513 | ถึงแก่อสัญกรรมในตำแหน่ง | |
15 | สัญญา ธรรมศักดิ์ | 18 มิถุนายน พ.ศ. 2517 | 19 มิถุนายน พ.ศ. 2517 | กราบบังคมทูลลาไปดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี | |
26 มีนาคม พ.ศ. 2518 | 5 ธันวาคม พ.ศ. 2518 | ไปดำรงตำแหน่งประธานองคมนตรี | |||
16 | หม่อมเจ้าวงศานุวัตร เทวกุล | 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514 | 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514 | ถึงชีพิตักษัยในตำแหน่ง | |
15 ธันวาคม พ.ศ. 2515 | 7 ตุลาคม พ.ศ. 2517 | ||||
26 มีนาคม พ.ศ. 2518 | 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2529 | ||||
? | 3 เมษายน พ.ศ. 2534 | ||||
17 | ประกอบ หุตะสิงห์ | 26 มีนาคม พ.ศ. 2518 | 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2537 | ถึงแก่อสัญกรรมในตำแหน่ง | |
18 | อรรถสิทธิ์ สิทธิสุนทร | 26 มีนาคม พ.ศ. 2518 | 16 กันยายน พ.ศ. 2541 | ถึงแก่อสัญกรรมในตำแหน่ง | |
19 | จินตา บุณยอาคม | 26 มีนาคม พ.ศ. 2518 | 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2530 | ถึงแก่อสัญกรรมในตำแหน่ง | |
20 | พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ | 26 มีนาคม พ.ศ. 2518 | 13 ตุลาคม พ.ศ. 2536 | สิ้นพระชนม์ในตำแหน่ง | |
21 | จรูญพันธ์ อิศรางกูร ณ อยุธยา | 26 มีนาคม พ.ศ. 2518 | พ.ศ. 2534 | ถึงแก่อสัญกรรมในตำแหน่ง | |
22 | หม่อมหลวงจิรายุ นพวงศ์ | 26 มีนาคม พ.ศ. 2518 | 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2546 | ถึงแก่อสัญกรรมในตำแหน่ง | |
23 | กิตติ สีหนนทน์ | 26 มีนาคม พ.ศ. 2518 | 24 มกราคม พ.ศ. 2527 | ถึงแก่อสัญกรรมในตำแหน่ง | |
24 | สำราญ แพทยกุล | 19 ธันวาคม พ.ศ. 2518 | 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 | ถึงแก่อสัญกรรมในตำแหน่ง | |
25 | เชาวน์ ณศีลวันต์ | 19 ธันวาคม พ.ศ. 2518 | 6 ธันวาคม พ.ศ. 2559 | ||
26 | ธานินทร์ กรัยวิเชียร | 15 ธันวาคม พ.ศ. 2520 | 14 ตุลาคม พ.ศ. 2559 | ไปปฏิบัติหน้าที่แทนประธานองคมนตรี | |
2 ธันวาคม พ.ศ. 2559 | 6 ธันวาคม พ.ศ. 2559 | ||||
27 | กัลย์ อิศรเสนา ณ อยุธยา | 18 เมษายน พ.ศ. 2522 | 12 สิงหาคม พ.ศ. 2539 | ถึงแก่อสัญกรรมในตำแหน่ง | |
28 | จิตติ ติงศภัทิย์ | 3 มีนาคม พ.ศ. 2527 | 3 มีนาคม พ.ศ. 2538 | ถึงแก่อสัญกรรมในตำแหน่ง | |
29 | หม่อมหลวงอัศนี ปราโมช | 3 มีนาคม พ.ศ. 2527 | 6 ธันวาคม พ.ศ. 2559 | ||
30 | กำธน สินธวานนท์ | 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2530 | 6 ธันวาคม พ.ศ. 2559 | ||
31 | พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ | 23 สิงหาคม พ.ศ. 2531 | 4 กันยายน พ.ศ. 2541 | ไปดำรงตำแหน่งประธานองคมนตรี | |
32 | สิทธิ เศวตศิลา | 24 ธันวาคม พ.ศ. 2534 | 5 ธันวาคม พ.ศ. 2558 | ถึงแก่อสัญกรรมในตำแหน่ง | |
33 | จุลนภ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา | 24 ธันวาคม พ.ศ. 2534 | 29 กันยายน พ.ศ. 2549 | ถึงแก่อสัญกรรมในตำแหน่ง | |
34 | หม่อมราชวงศ์อดุลกิติ์ กิติยากร | 9 เมษายน พ.ศ. 2535 | 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2547 | ถึงแก่อสัญกรรมในตำแหน่ง | |
35 | พิจิตร กุลละวณิชย์ | 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2536 | 6 ธันวาคม พ.ศ. 2559 | ||
36 | อำพล เสนาณรงค์ | 9 กันยายน พ.ศ. 2537 | 6 ธันวาคม พ.ศ. 2559 | ||
37 | จำรัส เขมะจารุ | 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2537 | 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2558 | ถึงแก่อสัญกรรมในตำแหน่ง | |
38 | หม่อมหลวงทวีสันต์ ลดาวัลย์ | 3 ตุลาคม พ.ศ. 2538 | 7 เมษายน พ.ศ. 2549 | ถึงแก่อสัญกรรมในตำแหน่ง | |
39 | หม่อมราชวงศ์เทพกมล เทวกุล | 7 สิงหาคม พ.ศ. 2540 | 6 ธันวาคม พ.ศ. 2559 | ||
40 | ศักดา โมกขมรรคกุล | 6 มกราคม พ.ศ. 2542 | 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2550 | ถึงแก่อสัญกรรมในตำแหน่ง | |
41 | เกษม วัฒนชัย | 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2544 | 6 ธันวาคม พ.ศ. 2559 | ||
42 | พลากร สุวรรณรัฐ | 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2544 | 6 ธันวาคม พ.ศ. 2559 | ||
43 | สวัสดิ์ วัฒนายากร | 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2545 | 13 มีนาคม พ.ศ. 2555 | ถึงแก่อสัญกรรมในตำแหน่ง | |
44 | พลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ | 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2546 | 1 ตุลาคม พ.ศ. 2549 | กราบบังคมทูลลาไปดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี | |
8 เมษายน พ.ศ. 2551 | 6 ธันวาคม พ.ศ. 2559 | ||||
45 | สันติ ทักราล | 15 มีนาคม พ.ศ. 2548 | 29 เมษายน พ.ศ. 2554 | ถึงแก่อสัญกรรมในตำแหน่ง | |
46 | พลเรือเอก ชุมพล ปัจจุสานนท์ | 15 มีนาคม พ.ศ. 2548 | 6 ธันวาคม พ.ศ. 2559 | ||
47 | อรรถนิติ ดิษฐอำนาจ | 16 สิงหาคม พ.ศ. 2550 | 6 ธันวาคม พ.ศ. 2559 | ||
48 | ศุภชัย ภู่งาม | 8 เมษายน พ.ศ. 2551 | 6 ธันวาคม พ.ศ. 2559 | ||
49 | ชาญชัย ลิขิตจิตถะ | 8 เมษายน พ.ศ. 2551 | 6 ธันวาคม พ.ศ. 2559 | ||
50 | พลอากาศเอก ชลิต พุกผาสุข | 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2554 | 6 ธันวาคม พ.ศ. 2559 |
รัชกาลปัจจุบัน
[แก้]รายนามองคมนตรีในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลปัจจุบัน
ประธานองคมนตรี
[แก้]ลำดับ | รูป | รายพระนาม/รายนาม | เริ่มวาระ | สิ้นสุดวาระ | หมายเหตุ |
- | ธานินทร์ กรัยวิเชียร | 14 ตุลาคม พ.ศ. 2559 | 2 ธันวาคม พ.ศ. 2559 | ดำรงตำแหน่งเป็นการชั่วคราวระหว่างที่พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ ดำรงตำแหน่งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ระหว่างที่รัชกาลที่ 10 ยังมิได้ทรงตอบรับการขึ้นทรงราชย์ | |
1 | พลเอก เปรม ติณสูลานนท์ | 2 ธันวาคม พ.ศ. 2559 | 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 | สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร มีพระราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ เป็นประธานองคมนตรี | |
2 | พลเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์ | 2 มกราคม พ.ศ. 2563 | ปัจจุบัน | พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ พลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ เป็นประธานองคมนตรีสืบต่อจาก พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ |
องคมนตรี
[แก้]ลำดับ | รูป | รายนาม | วาระ |
---|---|---|---|
1. | พลเอก เปรม ติณสูลานนท์ | 2 ธันวาคม พ.ศ. 2559[14] – 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 | |
2. | พลเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์ | 6 ธันวาคม พ.ศ. 2559[15] – 2 มกราคม พ.ศ. 2563 | |
3. | เกษม วัฒนชัย | 6 ธันวาคม พ.ศ. 2559 – ปัจจุบัน | |
4. | พลากร สุวรรณรัฐ | 6 ธันวาคม พ.ศ. 2559 – ปัจจุบัน | |
5. | อรรถนิติ ดิษฐอำนาจ | 6 ธันวาคม พ.ศ. 2559 – ปัจจุบัน | |
6. | ศุภชัย ภู่งาม | 6 ธันวาคม พ.ศ. 2559 – ปัจจุบัน | |
7. | ชาญชัย ลิขิตจิตถะ | 6 ธันวาคม พ.ศ. 2559 – 18 มกราคม พ.ศ. 2560 | |
8. | พลอากาศเอก ชลิต พุกผาสุข | 6 ธันวาคม พ.ศ. 2559 – ปัจจุบัน | |
9. | พลเอก ธีรชัย นาควานิช | 6 ธันวาคม พ.ศ. 2559 – 19 มิถุนายน พ.ศ. 2561 | |
10. | พลเอก ไพบูลย์ คุ้มฉายา | 6 ธันวาคม พ.ศ. 2559 – ปัจจุบัน | |
11. | พลเอก ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ | 6 ธันวาคม พ.ศ. 2559 – ปัจจุบัน | |
12. | วิรัช ชินวินิจกุล | 12 ธันวาคม พ.ศ. 2559 – 3 มีนาคม พ.ศ. 2561 | |
13. | จรัลธาดา กรรณสูต | 12 ธันวาคม พ.ศ. 2559 – ปัจจุบัน | |
14. | พลเอก กัมปนาท รุดดิษฐ์ | 23 ธันวาคม พ.ศ. 2559 – ปัจจุบัน | |
15. | พลเรือเอก พงษ์เทพ หนูเทพ | 8 มิถุนายน พ.ศ. 2560[16] – ปัจจุบัน | |
16. | จิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา | 12 มีนาคม พ.ศ. 2561[17] – ปัจจุบัน | |
17. | อำพน กิตติอำพน | 2 ตุลาคม พ.ศ. 2561[18] – ปัจจุบัน | |
18. | พลเอก เฉลิมชัย สิทธิสาท | 2 ตุลาคม พ.ศ. 2561[19] – ปัจจุบัน | |
19. | พลอากาศเอก จอม รุ่งสว่าง | 2 ตุลาคม พ.ศ. 2561[20] – ปัจจุบัน | |
20. | นุรักษ์ มาประณีต | 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2563[21] – ปัจจุบัน | |
21. | เกษม จันทร์แก้ว | 24 มีนาคม พ.ศ. 2564[22] – ปัจจุบัน | |
22. | พลเอกบัณฑิตย์ มลายอริศูนย์ | 21 ตุลาคม 2565[23] – ปัจจุบัน | |
23. | พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา | 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2566[24] – ปัจจุบัน |
อ้างอิง
[แก้]- ↑ ประกาศตั้งองคมนตรีในพระราชพิธีศรีสัจปานกาลพระราชทาน
- ↑ พระราชพิธีศรีสัจปานกาล และตั้งองคมนตรี
- ↑ พระราชพิธีศรีสัจปานกาล แลตั้งองคมนตรี
- ↑ ทรงประกาศแต่งตั้งองคมนตรี
- ↑ "รายพระนามและนามผู้ซึ่งได้รับพระราชทานตราตั้งเป็นองคมนตรี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 33 (ง): 115. 16 เมษายน 2459. สืบค้นเมื่อ 26 มีนาคม 2563.
- ↑ ทรงประกาศแต่งตั้งองคมนตรี
- ↑ "Product Listing -". sale62.eurseree.com.
- ↑ ทรงประกาศแต่งตั้งตามวาระ
- ↑ ทรงประกาศแต่งตั้งเพิ่มเติม
- ↑ ทรงประกาศแต่งตั้งเพิ่มเติม
- ↑ มีประกาศยกเลิกพระราชบัญญัติองคมนตรี
- ↑ "ประกาศตั้งอภิรัฐมนตรี" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2011-11-20. สืบค้นเมื่อ 2017-01-02.
- ↑ รายพระนาม/รายนามประธานองคมนตรีในรัชกาลปัจจุบัน (พ.ศ. ๒๔๙๒ - )[ลิงก์เสีย]
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, พระราชโองการ ประกาศแต่งตั้งประธานองคมนตรี, เล่ม ๑๓๓, ตอนพิเศษ ๒๘๐ ง, ๒ ธันวาคม ๒๕๕๙
- ↑ พระราชโองการ ประกาศแต่งตั้งองคมนตรี
- ↑ พระราชโองการ แต่งตั้งองคมนตรี ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๔ ตอน ๑๕๔ ง พิเศษ หน้า ๑ ๘ มิถุนายน ๒๕๖๐
- ↑ พระราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งองคมนตรี เล่ม ๑๓๕ ตอน ๕๕ ง พิเศษ หน้า ๑ ๑๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๑
- ↑ พระราชโองการ ประกาศแต่งตั้งองคมนตรี ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๕ ตอน ๒๔๔ ง พิเศษ หน้า ๑ ๒ ตุลาคม ๒๕๖๑
- ↑ พระราชโองการ ประกาศแต่งตั้งองคมนตรี ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๕ ตอน ๒๔๔ ง พิเศษ หน้า ๑ ๒ ตุลาคม ๒๕๖๑
- ↑ พระราชโองการ ประกาศแต่งตั้งองคมนตรี ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๕ ตอน ๒๔๔ ง พิเศษ หน้า ๑ ๒ ตุลาคม ๒๕๖๑
- ↑ พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งองคมนตรี
- ↑ "ประกาศแต่งตั้งองคมนตรี ลงวันที่ 24 มีนาคม 2564" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. กรุงเทพฯ: สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี. 138 (พิเศษ 66 ง): 1. 2564-03-24. สืบค้นเมื่อ 2564-03-24.
{{cite journal}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
(help) - ↑ โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง พล.อ. บัณฑิตย์ มลายอริศูนย์ เป็นองคมนตรี
- ↑ พระบรมราชโองการ ประกาศ เรื่อง แต่งตั้งองคมนตรี
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- (ไทย) เว็บไซต์ คณะองคมนตรี เก็บถาวร 2006-11-29 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- (ไทย) รายนามองคมนตรีในอดีต - สำนักราชเลขาธิการ เก็บถาวร 2016-03-04 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- (ไทย) รายนามองคมนตรี - สำนักราชเลขาธิการ เก็บถาวร 2014-03-07 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- (ไทย) คอลัมน์รู้ไปโม้ด[ลิงก์เสีย] - มติชน
- (ไทย) สำนักข่าวกรมประชาสัมพันธ์ เก็บถาวร 2006-05-04 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน