รายชื่อแหล่งมรดกโลกในเอเชียตะวันออก
หน้าตา
องค์การยูเนสโกได้ขึ้นทะเบียนสถานที่สำคัญใน 5 ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออก (ประเทศเกาหลีใต้ เกาหลีเหนือ จีน ญี่ปุ่น และมองโกเลีย) เป็นมรดกโลกมากกว่า 100 แห่ง [1]
- หมายเหตุ – ตัวเลขหน้าข้อความหมายถึง ปี พ.ศ./ค.ศ. ที่สถานที่นั้นๆ ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลก
สถิติ
[แก้]ประเทศ | จำนวนมรดกโลก | ประเภท |
จีน | วัฒนธรรม 40 แห่ง, ธรรมชาติ 15 แห่ง, ผสม 4 แห่ง | |
ญี่ปุ่น | วัฒนธรรม 21 แห่ง, ธรรมชาติ 5 แห่ง | |
เกาหลีใต้ | วัฒนธรรม 14 แห่ง, ธรรมชาติ 2 แห่ง | |
มองโกเลีย | วัฒนธรรม 4 แห่ง, ธรรมชาติ 2 แห่ง | |
เกาหลีเหนือ | วัฒนธรรม 2 แห่ง |
- 2538/1995 – ชังกย็องพันจ็อนแห่งวัดแฮอินซา สถานที่เก็บแม่พิมพ์ไม้ของพระไตรปิฎกฉบับเกาหลี
- 2538/1995 – ศาลเจ้าชงมโย
- 2538/1995 – ถ้ำซ็อกกูรัมและวัดพุลกุกซา
- 2540/1997 – พระราชวังชังด็อก
- 2540/1997 – ป้อมฮวาซ็อง
- 2543/2000 – แหล่งดอลเมนแห่งโคชัง ฮวาซุน และคังฮวา
- 2543/2000 – พื้นที่ประวัติศาสตร์แห่งคย็องจู
- 2550/2007 – เกาะภูเขาไฟเชจูและอุโมงค์ลาวา
- 2552/2009 – สุสานหลวงราชวงศ์โชซ็อน
- 2553/2010 – หมู่บ้านประวัติศาสตร์ของเกาหลี : ฮาฮเวและยังดง
- 2557/2014 – นัมฮันซันซ็อง
- 2558/2015 – พื้นที่ประวัติศาสตร์แพ็กเจ
- 2561/2018 – ซันซา พุทธอารามบนภูเขาในเกาหลี
- 2562/2019 – ซอว็อน สถานศึกษาลัทธิขงจื๊อใหม่แห่งเกาหลี
- 2564/2021 – แค็ดบ็อล ที่ลุ่มราบน้ำขึ้นถึงของเกาหลี
- 2566/2023 – มูนดินฝังศพคายา
- 2547/2004 – กลุ่มหลุมฝังศพแห่งโคกูรยอ
- 2556/2013 – โบราณสถานและแหล่งประวัติศาสตร์ในแคซ็อง
- 2530/1987 – พระราชวังหลวงแห่งราชวงศ์หมิงและชิงในปักกิ่งและเฉิ่นหยาง
- 2530/1987 – สุสานจักรพรรดิฉินที่ 1
- 2530/1987 – ถ้ำมั่วเกา
- 2530/1987 – เขาไท่
- 2530/1987 – แหล่งขุดค้นทางโบราณคดีมนุษย์ปักกิ่ง โจวโข่วเตี้ยน
- 2530/1987 – กำแพงเมืองจีน
- 2533/1990 – เขาหวง
- 2535/1992 – พื้นที่ที่มีคุณค่าทางทัศนียภาพและประวัติศาสตร์หฺวางหลง
- 2535/1992 – พื้นที่ที่มีคุณค่าทางทัศนียภาพและประวัติศาสตร์หุบเขาจิ่วไจ้
- 2535/1992 – พื้นที่ที่มีคุณค่าทางทัศนียภาพและประวัติศาสตร์อู่หลิงยฺเหวียน
- 2537/1994 – กลุ่มอาคารโบราณบนทิวเขาอู่ตัง
- 2537/1994 – กลุ่มโบราณสถานพระราชวังโปตาลาในลาซา
- 2537/1994 – สถานที่พักร้อนและหมู่วัดในเฉิงเต๋อ
- 2537/1994 – วัดขงจื๊อ สุสานขงจื๊อ และจวนตระกูลขงในชฺวีฟู่
- 2539/1996 – อุทยานแห่งชาติเขาหลู
- 2539/1996 – พื้นที่ทัศนียภาพภูเขาเอ๋อเหมย์ รวมทั้งพื้นที่ทัศนียภาพพระพุทธรูปเล่อชาน
- 2540/1997 – เมืองโบราณผิงเหยา
- 2540/1997 – สวนโบราณแห่งซูโจว
- 2540/1997 – เมืองเก่าลี่เจียง
- 2541/1998 – พระราชวังฤดูร้อน สวนหลวงในปักกิ่ง
- 2541/1998 – หอสักการะฟ้า : แท่นบวงสรวงของจักรพรรดิในปักกิ่ง
- 2542/1999 – งานแกะสลักหินแห่งต้าจู๋
- 2542/1999 – เขาอู่อี๋
- 2543/2000 – หมู่บ้านโบราณในอานฮุยตอนใต้ ซีตี้และหงชุน
- 2543/2000 – สุสานหลวงราชวงศ์หมิงและชิง
- 2543/2000 – ถ้ำหลงเหมิน
- 2543/2000 – ภูเขาชิงเฉิงและระบบชลประทานตูเจียงยั่น
- 2544/2001 – ถ้ำยฺหวินกัง
- 2546/2003 – พื้นที่คุ้มครองแม่น้ำขนานสามสายแห่งยูนนาน
- 2547/2004 – เมืองหลวงและสุสานของอาณาจักรโคกูรยอโบราณ
- 2548/2005 – ศูนย์ประวัติศาสตร์มาเก๊า
- 2549/2006 – เขตรักษาพันธุ์แพนด้ายักษ์แห่งเสฉวน วั่วหลง ภูเขาซื่อกูเหนียง และทิวเขาเจียจิน
- 2549/2006 – อินซฺวี
- 2550/2007 – เตียวโหลวและหมู่บ้านแห่งไคผิง
- 2550/2007 – คาสต์ในจีนตอนใต้
- 2551/2008 – ถู่โหลวแห่งฝูเจี้ยน
- 2551/2008 – อุทยานแห่งชาติภูเขาซานชิง
- 2552/2009 – เขาอู่ไถ
- 2553/2010 – ตานเสียแห่งจีน
- 2553/2010 – โบราณสถานแห่งเติงเฟิงใน "ศูนย์กลางแห่งสวรรค์และโลก"
- 2554/2011 – ภูมิทัศน์วัฒนธรรมทะเลสาบตะวันตกในหางโจว
- 2555/2012 – แหล่งซากดึกดำบรรพ์เฉิงเจียง
- 2555/2012 – แหล่งแซนาดู
- 2556/2013 – ภูมิทัศน์วัฒนธรรมนาขั้นบันไดหงเหอฮาหนี่
- 2556/2013 – ซินเจียงเทียนชาน
- 2557/2014 – เส้นทางสายไหม : โครงข่ายเส้นทางฉนวนฉางอาน-เทียนชาน (ร่วมกับคาซัคสถานและคีร์กีซสถาน)
- 2557/2014 – คลองใหญ่
- 2558/2015 – แหล่งตู่ซี
- 2559/2016 – ภูมิทัศน์วัฒนธรรมศิลปะบนหินจั่วเจียงฮวาชาน
- 2559/2016 – เฉินหนงเจี้ยแห่งหูเป่ย์
- 2560/2017 – ชิงไห่โฮห์ซิล
- 2560/2017 – กูลังซู : ชุมชนประวัติศาสตร์นานาชาติ
- 2561/2018 – ฟานจิงซาน
- 2562/2019 – ซากโบราณคดีแห่งเมืองเหลียงจู
- 2562/2019 – เขตรักษาพันธุ์นกอพยพตลอดฝั่งทะเลเหลือง-อ่าวปั๋วไห่แห่งจีน (ระยะที่ 2)
- 2564/2021 – เฉวียนโจว : ศูนย์กลางโลกในจีนสมัยราชวงศ์ซ่งและหยวน
- 2566/2023 – ภูมิทัศน์วัฒนธรรมป่าชาเก่าแก่แห่งเขาจิ่งม่ายในผูเอ่อร์
- 2567/2024 – ทะเลทรายบาไดง์จารัง - Towers of Sand and Lakes
- 2567/2024 – แกนกลางปักกิ่ง : กลุ่มอาคารที่แสดงระเบียบในอุดมคติของเมืองหลวงจีน
- 2536/1993 – พุทธสถานในพื้นที่โฮรีวจิ
- 2536/1993 – ฮิเมจิโจ
- 2536/1993 – ชิรากามิซันจิ
- 2536/1993 – ยากูชิมะ
- 2537/1994 – โบราณสถานแห่งเกียวโตโบราณ (นครเกียวโต, อูจิ และโอตสึ)
- 2538/1995 – หมู่บ้านประวัติศาสตร์ชิรากาวาโงและโกกายามะ
- 2539/1996 – อนุสรณ์สันติภาพฮิโรชิมะ (โดมปรมาณู)
- 2539/1996 – ศาลเจ้าชินโตอิตสึกูชิมะ
- 2541/1998 – โบราณสถานแห่งนาระโบราณ
- 2542/1999 – ศาลเจ้าและวัดแห่งนิกโก
- 2543/2000 – แหล่งกูซูกุและทรัพย์สินที่เกี่ยวข้องของอาณาจักรรีวกีว
- 2547/2004 – แหล่งศักดิ์สิทธิ์และเส้นทางจาริกแสวงบุญในทิวเขาคิอิ
- 2548/2005 – ชิเรโตโกะ
- 2550/2007 – เหมืองเงินอิวามิและภูมิทัศน์วัฒนธรรม
- 2554/2011 – ฮิราอิซูมิ วัด สวน และแหล่งโบราณคดีต่าง ๆ ที่แสดงลักษณะของนิกายสุขาวดีในพระพุทธศาสนา
- 2554/2011 – หมู่เกาะโองาซาวาระ
- 2556/2013 – ฟูจิซัง สถานที่ศักดิ์สิทธิ์และแหล่งที่มาของความบันดาลใจทางศิลปะ
- 2557/2014 – โรงงานทอผ้าโทมิโอกะและสถานที่ที่เกี่ยวข้อง
- 2558/2015 – แหล่งการปฏิวัติอุตสาหกรรมเมจิของญี่ปุ่น : อุตสาหกรรมเหล็กและเหล็กกล้า การต่อเรือ และเหมืองถ่านหิน
- 2559/2016 – งานสถาปัตยกรรมของเลอกอร์บูซีเย คุณูปการอันโดดเด่นต่อขบวนการสมัยใหม่ (ร่วมกับเบลเยียม ฝรั่งเศส เยอรมนี สวิตเซอร์แลนด์ อาร์เจนตินา และอินเดีย)
- 2560/2017 – เกาะศักดิ์สิทธิ์โอกิโนชิมะและสถานที่ที่เกี่ยวข้องในภูมิภาคมูนากาตะ
- 2561/2018 – แหล่งคริสเตียนลับในภูมิภาคนางาซากิ
- 2562/2019 – กลุ่มโคฟุงโมซุ-ฟูรูอิจิ : เนินสุสานญี่ปุ่นโบราณ
- 2564/2021 – เกาะอามามิโอชิมะ เกาะโทกูโนชิมะ ส่วนเหนือของเกาะโอกินาวะ และเกาะอิริโอโมเตะ
- 2564/2021 – แหล่งยุคก่อนประวัติศาสตร์โจมงในภาคเหนือของญี่ปุ่น
- 2567/2024 – เหมืองทองเกาะซาโดะ
- 2546/2003 – แอ่งน้ำอุฟส์นูร์ (ร่วมกับรัสเซีย)
- 2547/2004 – ภูมิทัศน์วัฒนธรรมหุบเขาออร์ค็อง
- 2554/2011 – กลุ่มภาพบนแผ่นหินแห่งเทือกเขาอัลไตในมองโกเลีย
- 2558/2015 – ภูเขาใหญ่บูร์คันคัลดุนและภูมิทัศน์ศักดิ์สิทธิ์โดยรอบ
- 2560/2017 – ภูมิทัศน์แห่งดาอูเรีย (ร่วมกับรัสเซีย)
- 2566/2023 – โบราณสถานหินกวางและแหล่งยุคสำริดที่เกี่ยวข้อง
อ้างอิง
[แก้]- ↑ World Heritage List, UNESCO World Heritage Sites official sites.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- (อังกฤษ) Republic of Korea - UNESCO World Heritage Centre
- (อังกฤษ) Democratic People's Republic of Korea - UNESCO World Heritage Centre
- (อังกฤษ) China - UNESCO World Heritage Centre
- (อังกฤษ) Japan - UNESCO World Heritage Centre
- (อังกฤษ) Mongolia - UNESCO World Heritage Centre