พระสัมพันธวงศ์เธอ กรมหมื่นนราเทเวศร์
พระสัมพันธวงศ์เธอ กรมหมื่นนราเทเวศร์ | |
---|---|
พระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชั้นโท | |
ประสูติ | 14 ธันวาคม พ.ศ. 2313 อาณาจักรธนบุรี ปาน |
สิ้นพระชนม์ | 23 สิงหาคม พ.ศ. 2368 (54 ปี) อาณาจักรรัตนโกสินทร์ |
บรรจุพระอัฐิ | วัดระฆังโฆสิตารามวรมหาวิหาร |
ภรรยา | เจ้าหญิงมะเดื่อ หม่อมทองสุก |
พระบุตร | 55 องค์ |
ราชสกุล | ปาลกะวงศ์ |
ราชวงศ์ | จักรี |
พระบิดา | สมเด็จพระเจ้าหลานเธอ เจ้าฟ้ากรมพระอนุรักษ์เทเวศร์ |
พระมารดา | พระชายาทองอยู่ |
ศาสนา | เถรวาท |
พระสัมพันธวงศ์เธอ กรมหมื่นนราเทเวศร์ (14 ธันวาคม พ.ศ. 2313 — 23 สิงหาคม พ.ศ. 2368) มีพระนามเดิมว่า ปาน เป็นพระโอรสพระองค์ใหญ่ในสมเด็จพระเจ้าหลานเธอ เจ้าฟ้ากรมพระอนุรักษ์เทเวศร์ กับพระชายาทองอยู่ ประสูติในสมัยกรุงธนบุรี เมื่อวันจันทร์ เดือนอ้าย แรม 1 ค่ำ ปีขาล ตรงกับวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2313[1]
พระสัมพันธวงศ์เธอ กรมหมื่นนราเทเวศร์ มีพระโสทรภราดา และพระโสทรภคินี 5 พระองค์ คือ
- พระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากระจับ
- พระสัมพันธวงศ์เธอ กรมหมื่นนเรศร์โยธี (พระนามเดิม บัว)
- พระสัมพันธวงศ์เธอ กรมหลวงเสนีบริรักษ์ (พระนามเดิม แตง) ต้นราชสกุลเสนีวงศ์
- พระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้าปฐมวงศ์
- พระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจงกล
ในรัชกาลที่ 1 ทรงได้รับโปรดเกล้าสถาปนาเป็น "กรมหมื่นนราเทเวศร์" เมื่อปี พ.ศ. 2350[2] สิ้นพระชนม์ในรัชกาลที่ 3 เมื่อวันอาทิตย์ เดือน 10 แรม 13 ค่ำ ปีมะเมีย ตรงกับวันที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2368 สิริพระชันษาได้ 56 ปี เป็นต้นราชสกุลปาลกะวงศ์
พระสัมพันธวงศ์เธอ กรมหมื่นนราเทเวศร์ อภิเษกสมรสกับเจ้าหญิงมะเดื่อ (พระราชธิดาในสมเด็จพระมหาอุปราช เจ้าฟ้ากรมขุนอินทรพิทักษ์) มีพระโอรสและพระธิดา 3 องค์ คือ
- หม่อมเจ้าเศรษฐ ปาลกะวงศ์ มีโอรสธิดา คือ
- หม่อมราชวงศ์หญิงฤทธิ์ ปาลกะวงศ์
- หม่อมราชวงศ์หญิงเสาวรส นพวงศ์ หม่อมในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นมเหศวรศิววิลาส
- หม่อมราชวงศ์หญิงนารี ปาลกะวงศ์
- หม่อมราชวงศ์หญิงกินรี ปาลกะวงศ์
- หม่อมราชวงศ์คม ปาลกะวงศ์
- หม่อมราชวงศ์อุดม ปาลกะวงศ์
- หม่อมเจ้าจักรจั่น ปาลกะวงศ์ เสกสมรสกับพระวงศ์เธอ พระองค์เจ้ายี่เข่ง และมีหม่อมอีก 1 คน ไม่ปรากฏนาม มีโอรสธิดา คือ
- หม่อมราชวงศ์เถาะ ปาลกะวงศ์
- หม่อมราชวงศ์หญิงปลีก ปาลกะวงศ์ พระองค์หญิงยี่เข่งเป็นพระมารดา
- หม่อมเจ้าหญิง (ไม่ปรากฏพระนาม)
และมีพระโอรสอีก 1 องค์ ที่ประสูติแต่หม่อมทองสุก คือ
และนอกจากนี้กรมหมื่นนราเทเวศร์ยังทรงมีพระโอรสและพระธิดาอีกป็นจำนวนมากที่ไม่ทราบหม่อมมารดา ตัวอย่างเช่น
- หม่อมเจ้าจุ้ย ปาลกะวงศ์ (ไม่มีข้อมูล - พ.ศ. 2434) มีโอรส คือ
- หม่อมราชวงศ์สุหร่าย ปาลกะวงศ์ มีธิดา คือ
- หม่อมหลวงผาด จักรพันธุ์ หม่อมในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจาตุรนต์รัศมี กรมพระจักรพรรดิพงษ์
- หม่อมราชวงศ์แผน ปาลกะวงศ์ มีธิดา คือ
- หม่อมหลวงจวง ปาลกะวงศ์
- หม่อมราชวงศ์สุหร่าย ปาลกะวงศ์ มีธิดา คือ
- หม่อมเจ้านิ่ม ปาลกะวงศ์ เสกสมรสกับหม่อมฟัก ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา และหม่อมอัญชัน ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา มีโอรสธิดา คือ
- หม่อมราชวงศ์หญิงแสง ปาลกะวงศ์ ในหม่อมฟัก ถวายตัวเป็นเจ้าจอมพระสนมในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระราชธิดา 2 พระองค์
- หม่อมราชวงศ์เนตร ปาลกะวงศ์ ในหม่อมอัญชัน สมรสกับ 1.หม่อมราชวงศ์หญิงละม่อม ปาลกะวงศ์ 2.หม่อมราชวงศ์หญิงมณฑา ปาลกะวงศ์ 3.เผลอ ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา 4.หงิม ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา มีบุตรธิดา คือ
- หม่อมหลวงนวม ปาลกะวงศ์ หม่อมราชวงศ์หญิงละม่อมเป็นมารดา ถวายตัวเป็นพระสนมในกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ มีพระโอรส 1 พระองค์
- หม่อมหลวงตาบ ปาลกะวงศ์ หม่อมราชวงศ์หญิงละม่อมเป็นมารดา
- หม่อมหลวงพลอย ปาลกะวงศ์ (พันตรี หลวงสรรพยุธนารักษ์) หม่อมราชวงศ์หญิงละม่อมเป็นมารดา
- หม่อมหลวงแหวน ปาลกะวงศ์ หม่อมราชวงศ์หญิงละม่อมเป็นมารดา
- หม่อมหลวงนารถ ปาลกะวงศ์ หม่อมราชวงศ์หญิงมณฑาเป็นมารดา
- หม่อมหลวงพงศ์ ปาลกะวงศ์ เผลอเป็นมารดา
- หม่อมหลวงบัว ปาลกะวงศ์ เผลอเป็นมารดา
- หม่อมหลวงเชื้อ ปาลกะวงศ์ เผลอเป็นมารดา
- หม่อมหลวงผาด ปาลกะวงศ์ เผลอเป็นมารดา
- หม่อมหลวงชั้น ปาลกะวงศ์ (รองอำมาตย์โท ขุนวิบูลย์นรารักษ์) เผลอเป็นมารดา
- หม่อมหลวงญาติ ปาลกะวงศ์ เผลอเป็นมารดา
- หม่อมหลวงลืม ปาลกะวงศ์ เผลอเป็นมารดา
- หม่อมหลวงพันธ์ ปาลกะวงศ์ หงิมเป็นมารดา
- หม่อมหลวงสาย ปาลกะวงศ์ หงิมเป็นมารดา
- หม่อมหลวงพัฒน์ ปาลกะวงศ์ หงิมเป็นมารดา
- หม่อมเจ้าฉัตร ปาลกะวงศ์ มีธิดา คือ
- หม่อมราชวงศ์หญิงตาบ อรุณวงศ์ หม่อมในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงวรศักดาพิศาล
- หม่อมเจ้ากระต่าย ปาลกะวงศ์ (ไม่มีข้อมูล - พ.ศ. 2402) สมรสกับหม่อมกฤษณ์ ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา มีโอรส คือ
- หม่อมราชวงศ์มงคล ปาลกะวงศ์ สมรสกับแฉ่ง ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา มีบุตร คือ
- หม่อมหลวงยิ้ม ปาลกะวงศ์
- หม่อมราชวงศ์มงคล ปาลกะวงศ์ สมรสกับแฉ่ง ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา มีบุตร คือ
- หม่อมเจ้าฟัก ปาลกะวงศ์
- หม่อมเจ้าหญิงเกษร ปาลกะวงศ์ (พ.ศ. 2332 - 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2417)
- หม่อมเจ้าชายหุ่น ปาลกะวงศ์ (พ.ศ. 2333 - 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2417)
- หม่อมเจ้าหญิงทับทิม ปาลกะวงศ์ (พ.ศ. 2337 - 7 เมษายน พ.ศ. 2418)
- หม่อมเจ้าชายกลาง ปาลกะวงศ์ (พ.ศ. 2338 - 6 เมษายน พ.ศ. 2419)
- หม่อมเจ้าตลับ ปาลกะวงศ์ (ไม่มีข้อมูล - สมัยรัชกาลที่ 3)
- หม่อมเจ้าหญิงใหญ่ ปาลกะวงศ์
- หม่อมเจ้าหญิงกลาง ปาลกะวงศ์
- หม่อมเจ้าหญิงปุก ปาลกะวงศ์
- หม่อมเจ้าส้มจีน ปาลกะวงศ์
- หม่อมเจ้าชายแย้ม ปาลกะวงศ์
- หม่อมเจ้าหญิงน้อย ปาลกะวงศ์ (ไม่มีข้อมูล - พ.ศ. 2387)
- หม่อมเจ้าหญิงเล็ก ปาลกะวงศ์ (ไม่มีข้อมูล - สมัยรัชกาลที่ 3)
- หม่อมเจ้าหญิง (ไม่ปรากฏพระนาม)
- หม่อมเจ้าเรไร ปาลกะวงศ์ (พ.ศ. 2346 - 21 สิงหาคม พ.ศ. 2421)
- หม่อมเจ้าหญิงปริก ปาลกะวงศ์ (พ.ศ. 2348 - 21 ธันวาคม 2427)
- หม่อมเจ้าชายเสือ ปาลกะวงศ์ (พ.ศ. 2349 - 5 กันยายน 2420)
- หม่อมเจ้าชายเอี่ยม ปาลกะวงศ์ (พ.ศ. 2350 - 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2419)
- หม่อมเจ้าชายกลาง ปาลกะวงศ์ (พ.ศ. 2352 - 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2421)
- หม่อมเจ้าสังวาลย์ ปาลกะวงศ์ (ไม่มีข้อมูล - พ.ศ. 2384)
- หม่อมเจ้าชายเผือก ปาลกะวงศ์
- หม่อมเจ้าดอกไม้ ปาลกะวงศ์
- หม่อมเจ้ายี่สุ่น ปาลกะวงศ์
- หม่อมเจ้าหญิงพุ่ม ปาลกะวงศ์
- หม่อมเจ้าชายเข้ม ปาลกะวงศ์
- หม่อมเจ้าหญิงหริ่ง ปาลกะวงศ์
- หม่อมเจ้าหญิงกลีบ ปาลกะวงศ์ (ไม่มีข้อมูล - พ.ศ. 2389)
- หม่อมเจ้าหญิงสุด ปาลกะวงศ์ (ไม่มีข้อมูล - พ.ศ. 2394)
- หม่อมเจ้าหญิงกลิ่น ปาลกะวงศ์ (พ.ศ. 2360 - 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2436)
- หม่อมเจ้าชายขำ ปาลกะวงศ์ (ไม่มีข้อมูล - พ.ศ. 2396)
- หม่อมเจ้าชายเนียม ปาลกะวงศ์ (ไม่มีข้อมูล - 12 มีนาคม พ.ศ. 2386)
- หม่อมเจ้าพรฉัตร ปาลกะวงศ์ (ไม่มีข้อมูล - สมัยรัชกาลที่ 4)
- หม่อมเจ้าหญิงซุ่น ปาลกะวงศ์ (ไม่มีข้อมูล - พ.ศ. 2410)
- หม่อมเจ้าจินดา ปาลกะวงศ์
- หม่อมเจ้าชายวัน ปาลกะวงศ์ (ไม่มีข้อมูล - พ.ศ. 2406)
- หม่อมเจ้าขุนเณร ปาลกะวงศ์
- หม่อมเจ้าหญิงเอม ปาลกะวงศ์
- หม่อมเจ้าชายไพ ปาลกะวงศ์
- หม่อมเจ้าชายฉัตร ปาลกะวงศ์
- หม่อมเจ้าชายเล็ก ปาลกะวงศ์
- หม่อมเจ้าหญิงเล็ก ปาลกะวงศ์ (ไม่มีข้อมูล - พ.ศ. 2437)
- หม่อมเจ้าชายหนู ปาลกะวงศ์
- หม่อมเจ้าน้อย ปาลกะวงศ์ มีโอรส คือ
- หม่อมราชวงศ์อรุณ ปาลกะวงศ์ มีบุตรคือ
- หม่อมหลวงโต๊ะ ปาลกะวงศ์ (หลวงพลาพาธิพิบัตร)
- หม่อมราชวงศ์อรุณ ปาลกะวงศ์ มีบุตรคือ
- หม่อมเจ้าโสวัจ ปาลกะวงศ์ มีธิดา คือ
- หม่อมราชวงศ์หญิงเอี่ยม โกเมน หม่อมในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นเชฐาธิเบนทร์
- หม่อมเจ้าช้าง ปาลกะวงศ์
- หม่อมราชวงศ์หมี ปาลกะวงศ์
- หม่อมหลวงนารถ ปาลกะวงศ์ สมรส กับ หลวงธนสารสิทธิกร (หม่อมราชวงศ์มงคล อิศรางกุร) (2409 - 2500)
- หม่อมราชวงศ์หมี ปาลกะวงศ์
พระอิสริยยศ
[แก้]- 14 ธันวาคม พ.ศ. 2313 - พ.ศ. 2325 : ปาน
- พ.ศ. 2325 - พ.ศ. 2350 : พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าปาน
- พ.ศ. 2350 - 23 สิงหาคม พ.ศ. 2368 : พระเจ้าหลานเธอ กรมหมื่นนราเทเวศร์
- สมัยรัชกาลที่ 4 : พระสัมพันธวงศ์เธอ กรมหมื่นนราเทเวศร์
พงศาวลี
[แก้]พงศาวลีของพระสัมพันธวงศ์เธอ กรมหมื่นนราเทเวศร์ | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
|
อ้างอิง
[แก้]- ↑ บรรเจิด อินทุจันทร์ยง. ราชสกุลพระบรมราชวงศ์จักรี. กรุงเทพ : องค์การค้าของคุรุสภา, พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2539. หน้า หน้าที่. ISBN 974-005-650-8 ข้อผิดพลาดพารามิเตอร์ใน {{ISBN}}: checksum
- ↑ กิตติพงษ์ วิโรจน์ธรรมากูร. ย้อนรอยราชสกุลวงศ์ วังหน้า-วังหลัง. กรุงเทพ : สำนักพิมพ์ดอกหญ้า, พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2549. หน้า หน้าที่. ISBN 974-941-204-4