ประเทศไทยใน พ.ศ. 2530
หน้าตา
| |||||
ดูเพิ่ม: |
---|
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2530 (ค.ศ. 1987) ในประเทศไทย เป็นปีที่ 206 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ และเป็นปีที่ 42 ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
ผู้นำ
[แก้]- พระมหากษัตริย์ : พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
- สยามมกุฎราชกุมาร: สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณฯ สยามมกุฎราชกุมาร
- นายกรัฐมนตรี: เปรม ติณสูลานนท์ (อิสระ)
- สภาผู้แทนราษฎร: ชุดที่ 15
- ประธานสภาผู้แทนราษฎร: ชวน หลีกภัย (ประชาธิปัตย์)
- วุฒิสภา: ชุดที่ 5
- ประธานวุฒิสภา:
- อุกฤษ มงคลนาวิน (แต่งตั้ง) (จนถึง 23 เมษายน)
- อุกฤษ มงคลนาวิน (แต่งตั้ง) (ตั้งแต่ 28 เมษายน)
- ประธานศาลฎีกา:
- ภิญโญ ธีรนิติ (จนถึง 30 กันยายน)
- จำรัส เขมะจารุ (ตั้งแต่ 1 ตุลาคม)
เหตุการณ์
[แก้]มกราคม
[แก้]- 16 มกราคม - ประเทศไทยสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตกับประเทศเซนต์คิตส์และเนวิส [1]
เมษายน
[แก้]- 3 เมษายน - อุทยานประวัติศาสตร์เมืองสิงห์เปิดอย่างเป็นทางการ[2]
มิถุนายน
[แก้]- 1 มิถุนายน - ก่อตั้งอุทยานแห่งชาติภูจองนายอย[3]
สิงหาคม
[แก้]- 31 สิงหาคม - เครื่องบินโบอิ้ง 737 เที่ยวบินที่ 365 ของเดินอากาศไทยตกกลางทะเล ห่างจากสนามบินภูเก็ตประมาณ 8 กิโลเมตร มีผู้เสียชีวิตจำนวน 83 ราย[4]
กันยายน
[แก้]- 14 กันยายน - ก่อตั้งอุทยานแห่งชาติแม่วงก์[5]
ตุลาคม
[แก้]- 9 ตุลาคม - ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทยเปิดอย่างเป็นทางการ[6]
พฤศจิกายน
[แก้]- 2 พฤศจิกายน - ก่อตั้งอุทยานแห่งชาติน้ำตกชาติตระการ[7]
- 22 พฤศจิกายน - เปิดใช้สะพานพระราม 9 โดยมีกิจกรรมวิ่งมาราธอนลอยฟ้าบนสะพานดังกล่าวในเวลา 06.00 น. ของวันเดียวกัน[8]
ธันวาคม
[แก้]วันเกิด
[แก้]มกราคม
[แก้]มีนาคม
[แก้]- 21 มีนาคม - อรุณพงศ์ ชัยวินิตย์ นักร้อง
พฤษภาคม
[แก้]- 29 พฤษภาคม - ธนา ฉัตรบริรักษ์ นักแสดง
- 30 พฤษภาคม - ภัณฑิลา ฟูกลิ่น นักแสดง
กรกฎาคม
[แก้]- 7 กรกฎาคม - ศรัณย์รัชต์ ดีน นักร้อง
- 30 กรกฎาคม - สุษิรา แน่นหนา นักแสดง
สิงหาคม
[แก้]- 17 สิงหาคม - กรรณาภรณ์ พวงทอง นักแสดง
- 25 สิงหาคม - นิภาพร บุญยะเลี้ยง นักร้อง
กันยายน
[แก้]- 1 กันยายน - จิราพร สินธุไพร นักการเมือง
- 21 กันยายน - ณัฎฐพัชร์ วิภัทรเดชตระกูล นักร้อง
- 29 กันยายน - ตรี ชัยณรงค์ นักร้อง
พฤศจิกายน
[แก้]- 13 พฤศจิกายน - ชนะพล สัตยา นักแสดง
ธันวาคม
[แก้]- 21 ธันวาคม - ธันย์ชนก ฤทธินาคา นักแสดง
- 27 ธันวาคม - วาโย อัศวรุ่งเรือง นักการเมือง
วันถึงแก่กรรม
[แก้]มกราคม
[แก้]- 1 มกราคม - ชูสง่า ฤทธิประศาสน์ นักการเมือง (เกิด 11 ตุลาคม พ.ศ. 2457)
กุมภาพันธ์
[แก้]- 22 กุมภาพันธ์ - หม่อมหลวงปีกทิพย์ มาลากุล (เกิด 12 เมษายน พ.ศ. 2448)
พฤษภาคม
[แก้]- 15 พฤษภาคม - หม่อมราชวงศ์กัลยาณกิติ์ กิติยากร (เกิด 20 กันยายน พ.ศ. 2472)
- 29 พฤษภาคม - หม่อมราชวงศ์พันธุ์ทิพย์ บริพัตร (เกิด 8 มีนาคม พ.ศ. 2452)
สิงหาคม
[แก้]- 19 สิงหาคม - หม่อมเจ้าวงษ์มหิป ชยางกูร (ประสูติ 19 เมษายน พ.ศ. 2452)
ตุลาคม
[แก้]- 1 ตุลาคม - อธิป ทองจินดา นักแสดง (เกิด 10 ธันวาคม พ.ศ. 2508)
- 24 ตุลาคม - หม่อมหลวงจินดา สนิทวงศ์ (เกิด 26 สิงหาคม พ.ศ. 2459)
ธันวาคม
[แก้]- 9 ธันวาคม - วิจิตร ลุลิตานนท์ นักการเมือง (เกิด 30 มิถุนายน พ.ศ. 2449)
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]อ้างอิง
[แก้]- ↑ "สหพันธรัฐเซนต์คิตส์และเนวิส (Saint Kitts and Nevis)". mfa.go.th. กระทรวงการต่างประเทศ. 2019-02-12. สืบค้นเมื่อ 2023-02-28.
- ↑ "อุทยานประวัติศาสตร์เมืองสิงห์". finearts.go.th. กรมศิลปากร. สืบค้นเมื่อ 2022-10-19.
- ↑ "รายชื่ออุทยานแห่งชาติและวนอุทยาน". สำนักอุทยานแห่งชาติ. สืบค้นเมื่อ 2022-11-05.
- ↑ กองบรรณาธิการมติชน. "โบอิ้งดิ่งทะเล 83 ศพ". 289 ข่าวดัง 3 ทศวรรษหนังสือพิมพ์มติชน, หน้า 125 - 126
- ↑ "อุทยานแห่งชาติแม่วงก์". thai.tourismthailand.org. การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. สืบค้นเมื่อ 2022-10-26.
- ↑ "ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย". thai.tourismthailand.org. การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. สืบค้นเมื่อ 2023-06-23.
- ↑ "อุทยานแห่งชาติน้ำตกชาติตระการ - Charttrakarn Waterfall National Park". phitsanulok.mots.go.th. สำนักงานการท่องเที่ยวและกีฬา จังหวัดพิษณุโลก. 2020-05-20. สืบค้นเมื่อ 2022-11-05.
- ↑ "สนเทศน่ารู้ :: สะพานในกรุงเทพมหานคร (สะพานพระราม 9)". lib.ru.ac.th. 2008-11-05. สืบค้นเมื่อ 2023-01-07.