ประเทศไทยใน พ.ศ. 2455
หน้าตา
| |||||
ดูเพิ่ม: |
---|
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2455 (ค.ศ. 1912) ในประเทศไทย เป็นปีที่ 131 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ และเป็นปีที่ 3 ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว และนับเป็นปี ร.ศ. 130 (1 มกราคม - 31 มีนาคม) และ 131 (1 เมษายน - 31 ธันวาคม) ในแบบปัจจุบัน
ผู้นำ
[แก้]- พระมหากษัตริย์: พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
- อธิบดีศาลฎีกา: พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นสวัสดิวัดนวิศิษฎ์ (ตั้งแต่ ?)
- เจ้าผู้ครองประเทศราช
- นครเชียงใหม่: เจ้าแก้วนวรัฐ
- นครลำปาง: เจ้าบุญวาทย์วงษ์มานิต
- นครลำพูน: เจ้าจักรคำขจรศักดิ์
เหตุการณ์
[แก้]- 21 กุมภาพันธ์ – ประเทศไทยได้เปลี่ยนแปลงการนับศักราชจากรัตนโกสินทรศกเป็นพุทธศักราชในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว[1][2][3]
- 22 มีนาคม – พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขนานนามสกุล พระพุทธศักราช ๒๔๕๖ ขึ้น มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2456 ถือกำเนิดนามสกุลครั้งแรกในประเทศไทย
- 1 เมษายน – กบฏ ร.ศ. 130 วางแผนปลงพระชนม์พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวเพื่อเปลี่ยนแปลงการปกครอง
วันเกิด
[แก้]เมษายน
[แก้]- 15 เมษายน – บุญเท่ง ทองสวัสดิ์ อดีตรองนายกรัฐมนตรี (ถึงแก่อนิจกรรม 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2542)
พฤษภาคม
[แก้]- 26 พฤษภาคม
- เกรียง กีรติกร นักการเมือง (ถึงแก่อนิจกรรม 17 สิงหาคม พ.ศ. 2533)
- พงา ธรรมศักดิ์ คู่สมรสอดีตนายกรัฐมนตรี (ถึงแก่อนิจกรรม 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2544)
มิถุนายน
[แก้]- 16 มิถุนายน – หม่อมหลวงจิรายุ นพวงศ์ (ถึงแก่อสัญกรรม 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2546)
สิงหาคม
[แก้]- 23 สิงหาคม – สุนทร หงส์ลดารมภ์ อดีตรองนายกรัฐมนตรี (ถึงแก่อนิจกรรม 16 กันยายน พ.ศ. 2548)
กันยายน
[แก้]- 5 กันยายน – หม่อมเจ้ารวิพรรณไพโรจน์ รพีพัฒน์ (สิ้นชีพิตักษัย 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2531)
- 24 กันยายน – พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจันทรกานตมณี (สิ้นพระชนม์ 30 ธันวาคม พ.ศ. 2520)
ตุลาคม
[แก้]- 11 ตุลาคม – กฤช ปุณณกันต์ นักการเมือง (ถึงแก่อนิจกรรม 13 สิงหาคม พ.ศ. 2529)
- 16 ตุลาคม – หม่อมเจ้าขจรจิรพันธ์ จิรประวัติ (สิ้นชีพิตักษัย 14 สิงหาคม พ.ศ. 2514)
พฤศจิกายน
[แก้]- 25 พฤศจิกายน – ประภาส จารุเสถียร อดีตรองนายกรัฐมนตรี (ถึงแก่อสัญกรรม 18 สิงหาคม พ.ศ. 2540)
- 28 พฤศจิกายน – หลวงพ่อเกษม เขมโก (มรณภาพ 15 มกราคม พ.ศ. 2539)
ธันวาคม
[แก้]- 24 ธันวาคม
- ไกรศรี นิมมานเหมินท์ นักประวัติศาสตร์ (ถึงแก่อนิจกรรม 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2535)
- ล้วน ควันธรรม นักร้อง (ถึงแก่กรรม 27 มกราคม พ.ศ. 2522)
วันถึงแก่กรรม
[แก้]มิถุนายน
[แก้]- 14 มิถุนายน – เจ้าจอมมารดาสุด ในรัชกาลที่ 5 (เกิด พ.ศ. 2394)
กันยายน
[แก้]- 19 กันยายน – พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุริยนเยี่ยมพยับ (ประสูติ 14 กันยายน พ.ศ. 2437)
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- ↑ "รัตนโกสิทร์ศก". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-06-14. สืบค้นเมื่อ 2016-05-12.
{{cite web}}
: ระบุ|accessdate=
และ|access-date=
มากกว่าหนึ่งรายการ (help); ระบุ|archivedate=
และ|archive-date=
มากกว่าหนึ่งรายการ (help); ระบุ|archiveurl=
และ|archive-url=
มากกว่าหนึ่งรายการ (help) - ↑ "การนับศักราช". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-05-22. สืบค้นเมื่อ 2016-05-12.
{{cite web}}
: ระบุ|accessdate=
และ|access-date=
มากกว่าหนึ่งรายการ (help); ระบุ|archivedate=
และ|archive-date=
มากกว่าหนึ่งรายการ (help); ระบุ|archiveurl=
และ|archive-url=
มากกว่าหนึ่งรายการ (help) - ↑ "ร.6 ให้เลิกใช้ร.ศ. เปลี่ยนไปใช้ พ.ศ. แทน". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-07-11. สืบค้นเมื่อ 2016-05-12.
{{cite web}}
: ระบุ|accessdate=
และ|access-date=
มากกว่าหนึ่งรายการ (help); ระบุ|archivedate=
และ|archive-date=
มากกว่าหนึ่งรายการ (help); ระบุ|archiveurl=
และ|archive-url=
มากกว่าหนึ่งรายการ (help)