ข้ามไปเนื้อหา

รายพระนามและชื่ออภิรัฐมนตรีและองคมนตรีไทย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก ประธานองคมนตรี)

รายพระนามและชื่ออภิรัฐมนตรีและองคมนตรีไทย

รัชกาลที่ 5

[แก้]

ใน พ.ศ. 2435 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงประกาศตั้งองคมนตรีในพระราชพิธีศรีสัจปานกาลพระราชทานพระไชยวัฒน์ องค์เล็ก และเครื่องราชอิสริยาภรณ์และตั้งองคมนตรี[1]

  1. พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงพรหมวรานุรักษ์
  2. พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวัชรีวงศ์
  3. พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลังการ
  4. เจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรี (เจิม แสง-ชูโต)
  5. เจ้าพระยาวิชิตวงศ์วุฒิไกร (หม่อมราชวงศ์คลี่ สุทัศน์)

ใน พ.ศ. 2438 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงประกาศตั้งองคมนตรีในพระราชพิธีศรีสัจปานกาลและตั้งองคมนตรี [2]

  1. พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ
  2. พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์
  3. พระยาพิพิธโภไคสวรรย์
  4. พระยาฤทธิรงค์รณเฉท

ใน พ.ศ. 2439 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงประกาศตั้งองคมนตรีในพระราชพิธีศรีสัจปานกาลและตั้งองคมนตรี [3]

  1. พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงปราจิณกิติบดี
  2. พระยาอินทรเทพ
  3. พระยาพิเรนทรเทพ
  4. พระยาจ่าแสนยบดีศรีบริบาล (ชิต สุนทรวร)
  5. พระยาราชเสนาปลัดทูลฉลอง

รัชกาลที่ 6

[แก้]

เมื่อ พ.ศ. 2453 ทรงประกาศแต่งตั้งองคมนตรี จำนวน 9 ราย ดังนี้[4]

เมื่อ พ.ศ. 2459 ทรงประกาศแต่งตั้งองคมนตรี จำนวน 23 ราย ดังนี้[5]

เมื่อ พ.ศ. 2460 ทรงประกาศแต่งตั้งองคมนตรี จำนวน 25 ราย ดังนี้[6]

  • พระราชวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุทัศน์นิภาธร
  • หม่อมเจ้าพันธุประวัติ
  • พระยาสุริยานุวัตร์
  • พระยาอนิรุทธเทวา (หม่อมหลวงฟื้น พึ่งบุญ)
  • พระยาบริบูรณ์ราชสมบัติ
  • พระยาสวัสดิ์วรวิถี
  • พระยาตราชูชาดิศร
  • พระยาศรีสรราชภักดี
  • พระยานรรัตน์ราชมานิต
  • พระยาอนุรักษ์ราชมณเฑียร
  • พระยาเทพหัสดิน (ผาด เทพหัสดิน ณ อยุธยา)
  • พระยาสุรราชฤทธานนท์
  • พระยาเทพาธิบดี
  • พระยาราชมานู (ถั่ว อัศวเสนา)
  • พระยากำแหงรณฤทธิ์
  • พระยาประเสริฐศุภกิจ
  • พระยาอัศวบดีศรีสุรพาหน
  • พระยาเพชร์รัตน์สงคราม
  • พระยาไพศาลศิลปสาตร์
  • พระยาราชสมบัติ (เอิบ บุรานนท์) ท.จ., น.ช., ม.ม., ร.จ.พ.
  • พระยาเทพรัตน์นรินทร์
  • พระยาพิพากษาสัตยาธิปตัย
  • พระยาพิจารณาปฤชามาตย์
  • พระยาจรรยายุตกฤตย์
  • พระยามหาวินิจฉัยมนตรี

รัชกาลที่ 7

[แก้]

พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงตั้งอภิรัฐมนตรีสภา โดยอภิรัฐมนตรีชุดแรกที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งตามพระราชดำรัสเมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468 ณ พระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัยนั้น ประกอบด้วยพระบรมวงศ์ 5 พระองค์ คือ

  • ตำแหน่ง: อภิรัฐมนตรี
ลำดับ รายนามและรายพระนาม เริ่มวาระ สิ้นสุดวาระ หมายเหตุ
1 สมเด็จพระราชปิตุลา บรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช พ.ศ. 2468 พ.ศ. 2471 อภิรัฐมนตรี
2 สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต พ.ศ. 2468 พ.ศ. 2475 อภิรัฐมนตรี
3 สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ พ.ศ. 2468 พ.ศ. 2475 อภิรัฐมนตรี
4 สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ พ.ศ. 2468 พ.ศ. 2475 อภิรัฐมนตรี
5 พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ พ.ศ. 2468 พ.ศ. 2475 อภิรัฐมนตรี

ตำแหน่ง : องคมนตรี

  1. จางวางเอก เจ้าพระยารามราฆพ (ม.ล.เฟื้อ พึ่งบุญ ณ อยุธยา) 4 เมษายน พ.ศ. 2469[7] ไม่มีวาระกำหนดเวลา ตามพระราชนิยมเดิม แบบเดียวกับในสมัยรัชกาลที่ 6
  • ตำแหน่ง: กรรมการองคมนตรี

(2 กันยายน 2470 - 31 มีนาคม 2474) [8]

  1. พระราชวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์
  2. พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทศศิริวงศ์
  3. พลเอก พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช
  4. พลโท หม่อมเจ้าเสรฐศิริ กฤดากร
  5. หม่อมเจ้าสิทธิพร กฤดากร
  6. พลโท หม่อมเจ้าอมรทัต กฤดากร
  7. พลเรือเอก หม่อมเจ้าอุปพัทธพงศ์ ศรีธวัช
  8. เจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม)
  9. พลเอก เจ้าพระยาวงษานุประพัทธ์ (หม่อมราชวงศ์สท้าน สนิทวงศ์)
  10. เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา)
  11. พลเอก เจ้าพระยาบดินทรเดชานุชิต (แย้ม ณ นคร)
  12. เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา)
  13. พระยาโชฎึกราชเศรษฐี (มิ้น เลาหเศรษฐี)
  14. พระยาเทพวิทุรพหุลศรุตบดี (บุญช่วย วณิกกุล)
  15. พลเอก พระยาเทพหัสดิน (ผาด เทพหัสดิน ณ อยุธยา)
  16. พระยาเทพอรชุน (อุ่ม อินทรโยธิน)
  17. เจ้าพระยาศรีพิพัฒน์ (หม่อมราชวงศ์มูล ดารากร)
  18. พระยาเผด็จดุลบดี (เลียบ อรรถยุกติ)
  19. พระยาเพชรดา (สอาด ณ ป้อมเพ็ชร์)
  20. พระยาไพศาลศิลปสาตร์ (รื่น ศยามานนท์)
  21. พระยามโนปกรณ์นิติธาดา (ก้อน หุตะสิงห์)
  22. พระยามโหสถศรีพิพัฒน์ (เชิญ ปริชญานนท์)
  23. พระยาวิสูตรสาครดิฐ (สาย โชติกเสถียร)
  24. พระยาศรีธรรมาธิราช (เจิม บุณยรัตพันธุ์)
  25. พระยาจ่าแสนยบดีศรีบริบาล (ชิต สุนทรวร)
  26. พระยาศุภกรณ์บรรณสาร (นุ่ม วสุธาร)
  27. พระยาสุรินทราชา (นกยูง วิเศษกุล)
  28. พระยาสุริยานุวัตร (เกิด บุนนาค)
  29. พระยาสุพรรณสมบัติ (ติณ บุนนาค)
  30. พระยาอธิกรณ์ประกาศ (หลุย จาติกวณิช)
  31. หม่อมเจ้าอลงกฎ ศุขสวัสดิ
  32. หม่อมเจ้าถาวรมงคลวงศ์ ไชยันต์
  33. พระยาราชนกูลวิบูลยภักดี (อวบ เปาโรหิตย์)
  34. พระยาศรีสุริยราชวรานุวัตร (ศุข ดิษยบุตร์)
  35. พระยาราชวังสัน (ศรี กมลนาวิน)
  36. พระยามานวราชเสวี (ปลอด วิเชียร ณ สงขลา)
  37. พระยาเฉลิมอากาศ (สุณี สุวรรณประทีป)
  38. หม่อมเจ้าดำรัศดำรงค์ เทวกุล
  39. พระยาอานุภาพไตรภพ (จำรัส เทพหัสดิน ณ อยุธยา)
  40. พระยาโกมารกุลมนตรี (ชื่น โกมารกุล ณ นคร)
แต่งตั้งเพิ่มเติม

(1 เมษายน 2474 - 31 มีนาคม 2476) [11] สิ้นสุดลงเมื่อคณะราษฎรได้มีประกาศยกเลิกพระราชบัญญัติองคมนตรี เมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2475

  1. พระราชวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์
  2. หม่อมเจ้าสกลวรรณากร วรวรรณ
  3. เจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม)
  4. เจ้าพระยาวงษานุประพัทธ์ (หม่อมราชวงศ์สท้าน สนิทวงศ์)
  5. เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา)
  6. เจ้าพระยาบดินทรเดชานุชิต (แย้ม ณ นคร)
  7. เจ้าพระยาพิชัยญาติ (ดั่น บุนนาค)
  8. เจ้าพระยาศรีพิพัฒน์ (หม่อมราชวงศ์มูล ดารากร)
  9. พระยาเทพวิทุรพหุลศรุตาบดี (บุญช่วย วณิกกุล)
  10. พระยาเทพหัสดิน (ผาด เทพหัสดิน ณ อยุธยา)
  11. พระยาราชนกูลวิบูลยภักดี (รื่น ศยามานนท์)
  12. พระยามโนปกรณ์นิติธาดา (ก้อน หุตะสิงห์)
  13. พระยามโหสถศรีพิพัฒน์ (เชิญ ปริชญานนท์)
  14. พระยาจ่าแสนยบดีศรีบริบาล (ชิต สุนทรวร)
  15. พระยาสุรินทราชา (นกยูง วิเศษกุล)
  16. พระยาสุริยานุวัตร (เกิด บุนนาค)
  17. พระยาอธิกรณ์ประกาศ (หลุย จาติกวณิช)
  18. พระยามหาวินิจฉัยมนตรี (เภา ภวมัย)
  19. พระยาอมเรศร์สมบัติ (ต่วน ศุขะวณิช)
  20. พระยาพรหมทัตศรีพิลาต (แฉล้ม มิตรานนท์)
  21. พระยาเมธาธิบดี (สาตร์ สุทธเสถียร)
  22. พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฎ
  23. หม่อมเจ้าถาวรมงคลวงศ์ ไชยยันต์
  24. เจ้าพระยามุขมนตรี (อวบ เปาโรหิตย์)
  25. พระยาศรีสุริยราชวรานุวัตร (ศุข ดิษยบุตร)
  26. พระยาราชวังสัน (ศรี กมลนาวิน)
  27. พระยามานวราชเสวี (ปลอด วิเชียร ณ สงขลา)
  28. พระยาเฉลิมอากาศ (สุณี สุวรรณประทีป)
  29. พระยาโบราณราชธานินทร์ (พร เดชะคุปต์)
  30. พระยาอานุภาพไตรภพ (จำรัส เทพหัสดิน ณ อยุธยา)
  31. หม่อมเจ้าวิวัฒนไชย ไชยยันต์
  32. พระยาพิพิธสมบัติ (ตาบ กุวานนท์)
  33. พระยาสารศาสตร์ศิริลักษณ์ (สรรเสริญ สุขยางค์)
  34. พระยาศรีวิสารวาจา (หุ่น ฮุนตระกูล)
  35. หม่อมเจ้าวิบูลย์สวัสดิ์วงศ์ สวัสดิกุล
  36. พระยาชลมารคพิจารณ์ (หม่อมหลวงพงษ์ สนิทวงศ์)
  37. พระยากฤตราชทรงสวัสดิ์ (สุดใจ ไกรจิตติ)
  38. พระยาอัชราชทรงสิริ (แม้น อรุณลักษณ์)
  39. พระยาวิทุรธรรมพิเนตุ (โต๊ะ อัมระนันทน์)
  40. พระยาโชฎึกราชเศรษฐี (ผ่อง โชติกะพุกกณะ)

อภิรัฐมนตรีทำหน้าที่จนถึง พ.ศ. 2475

โดยหลังจากที่ได้มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองโดยคณะราษฎร เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475

ได้มีประกาศยกเลิกอภิรัฐมนตรีสภา เมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2475

รัชกาลที่ 8

[แก้]

อยู่ในช่วงระหว่างประกาศยกเลิกอภิรัฐมนตรีสภา

รัชกาลที่ 9

[แก้]

รายนามองคมนตรีในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร

อภิรัฐมนตรี (พ.ศ. 2490 - พ.ศ. 2492)

[แก้]
ลำดับ รายนามและรายพระนาม เริ่มวาระ[12] สิ้นสุดวาระ หมายเหตุ
1 สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 พ.ศ. 2492 ประธานอภิรัฐมนตรี
2 พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 พ.ศ. 2492 อภิรัฐมนตรี
3 พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 พ.ศ. 2492 อภิรัฐมนตรี
4 พระยามานวราชเสวี(ปลอด วิเชียร ณ สงขลา) 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 พ.ศ. 2492 อภิรัฐมนตรี
5 อดุล อดุลเดชจรัส 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 พ.ศ. 2492 อภิรัฐมนตรี

พ.ศ. 2492 - 2559

[แก้]

ประธานองคมนตรี[13]

[แก้]
ลำดับ รูป รายพระนาม/รายนาม เริ่มวาระ สิ้นสุดวาระ หมายเหตุ
1 พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร 18 มิถุนายน พ.ศ. 2492 25 มีนาคม พ.ศ. 2493
2 สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร 25 มีนาคม พ.ศ. 2493 4 มิถุนายน พ.ศ. 2493 ทรงได้รับการสถาปนาเป็นสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร เมื่อ 28 มกราคม พ.ศ. 2495
(1) พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร 4 มิถุนายน พ.ศ. 2493 12 มีนาคม พ.ศ. 2494
3 พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ 13 มีนาคม พ.ศ. 2494 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494 ได้รับการสถาปนาเป็นพระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ เมื่อ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2495
(1) พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร 8 เมษายน พ.ศ. 2495 20 ตุลาคม พ.ศ. 2501
24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2502 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2506
- เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา) 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2506 8 มิถุนายน พ.ศ. 2506 ดำรงตำแหน่งเป็นการชั่วคราว
(1) พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร 8 มิถุนายน พ.ศ. 2506 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2506
- เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา) 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2506 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2506 ดำรงตำแหน่งเป็นการชั่วคราว
(1) พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2506 20 มิถุนายน พ.ศ. 2511
30 กรกฎาคม พ.ศ. 2511 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514
14 ธันวาคม พ.ศ. 2515 8 กันยายน พ.ศ. 2517
4 หม่อมหลวงเดช สนิทวงศ์ 24 มีนาคม พ.ศ. 2518 8 กันยายน พ.ศ. 2518
5 สัญญา ธรรมศักดิ์ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2518 4 กันยายน พ.ศ. 2541
6 พลเอก เปรม ติณสูลานนท์ 4 กันยายน พ.ศ. 2541 14 ตุลาคม พ.ศ. 2559 ไปดำรงตำแหน่ง ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ชั่วคราวไปพลางก่อน ตามรัฐธรรมนูญ

องคมนตรี

[แก้]
ลำดับ รูป รายนามและรายพระนาม เริ่มวาระ สิ้นสุดวาระ สาเหตุการสิ้นสุดวาระ
1 พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2492 13 มีนาคม พ.ศ. 2494 สิ้นพระชนม์ในตำแหน่ง
8 เมษายน พ.ศ. 2495 19 ธันวาคม พ.ศ. 2495
2 พระยามานวราชเสวี (ปลอด วิเชียร ณ สงขลา) 18 มิถุนายน พ.ศ. 2492 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494
8 เมษายน พ.ศ. 2495 20 ตุลาคม พ.ศ. 2501
24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2502 20 มิถุนายน พ.ศ. 2511
31 กรกฎาคม พ.ศ. 2511 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514
15 ธันวาคม พ.ศ. 2515 7 ตุลาคม พ.ศ. 2517
3 อดุล อดุลเดชจรัส 18 มิถุนายน พ.ศ. 2492 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494
4 พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิวัฒนไชย 8 เมษายน พ.ศ. 2495 20 ตุลาคม พ.ศ. 2501 สิ้นพระชนม์ในตำแหน่ง
24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2502 22 สิงหาคม พ.ศ. 2503
5 พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถ 8 เมษายน พ.ศ. 2495 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2496 สิ้นพระชนม์ในตำแหน่ง
6 เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา) 8 เมษายน พ.ศ. 2495 20 ตุลาคม พ.ศ. 2501 ถึงแก่อสัญกรรมในตำแหน่ง
24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2502 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2506
8 มิถุนายน พ.ศ. 2506 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2506
14 กรกฎาคม พ.ศ. 2506 20 มิถุนายน พ.ศ. 2511
31 กรกฎาคม พ.ศ. 2511 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514
15 ธันวาคม พ.ศ. 2515 25 กันยายน พ.ศ. 2519
7 พระยาศรีวิสารวาจา (เทียนเลี้ยง ฮุนตระกูล) 8 เมษายน พ.ศ. 2495 20 ตุลาคม พ.ศ. 2501 กราบบังคมทูลลาไปดำรงตำแหน่งเลขาธิการสภาความมั่นคงแห่งชาติ
24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2502 27 สิงหาคม พ.ศ. 2505
8 หม่อมหลวงเดช สนิทวงศ์ 24 เมษายน พ.ศ. 2496 7 ตุลาคม พ.ศ. 2517 ไปดำรงตำแหน่งประธานองคมนตรี
9 หลวงเสนาณรงค์ (ศักดิ์ เสนาณรงค์) 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2498 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2498 ถึงแก่อสัญกรรมในตำแหน่ง
10 พระยาบริรักษ์เวชชการ (ไล่ฮวด ติตติรานนท์) 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2500 26 มีนาคม พ.ศ. 2511 ถึงแก่อสัญกรรมในตำแหน่ง
11 พระยาศรีเสนา (ศรีเสนา สมบัติศิริ) 21 มีนาคม พ.ศ. 2501 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2525 ถึงแก่อสัญกรรมในตำแหน่ง
12 หลวงกัมปนาทแสนยากร (กำปั่น อุตระวณิชย์) 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2503 7 ตุลาคม พ.ศ. 2517
13 หลวงสุรณรงค์ (ธงไชย โชติกเสถียร) 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2507 18 มกราคม พ.ศ. 2529 ถึงแก่อสัญกรรมในตำแหน่ง
14 หม่อมทวีวงศ์ถวัลยศักดิ์ (หม่อมราชวงศ์เฉลิมลาภ ทวีวงศ์) 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2509 27 ตุลาคม พ.ศ. 2513 ถึงแก่อสัญกรรมในตำแหน่ง
15 สัญญา ธรรมศักดิ์ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2517 19 มิถุนายน พ.ศ. 2517 กราบบังคมทูลลาไปดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี
26 มีนาคม พ.ศ. 2518 5 ธันวาคม พ.ศ. 2518 ไปดำรงตำแหน่งประธานองคมนตรี
16 หม่อมเจ้าวงศานุวัตร เทวกุล 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514 ถึงชีพิตักษัยในตำแหน่ง
15 ธันวาคม พ.ศ. 2515 7 ตุลาคม พ.ศ. 2517
26 มีนาคม พ.ศ. 2518 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2529
? 3 เมษายน พ.ศ. 2534
17 ประกอบ หุตะสิงห์ 26 มีนาคม พ.ศ. 2518 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2537 ถึงแก่อสัญกรรมในตำแหน่ง
18 อรรถสิทธิ์ สิทธิสุนทร 26 มีนาคม พ.ศ. 2518 16 กันยายน พ.ศ. 2541 ถึงแก่อสัญกรรมในตำแหน่ง
19 จินตา บุณยอาคม 26 มีนาคม พ.ศ. 2518 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2530 ถึงแก่อสัญกรรมในตำแหน่ง
20 พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ 26 มีนาคม พ.ศ. 2518 13 ตุลาคม พ.ศ. 2536 สิ้นพระชนม์ในตำแหน่ง
21 จรูญพันธ์ อิศรางกูร ณ อยุธยา 26 มีนาคม พ.ศ. 2518 พ.ศ. 2534 ถึงแก่อสัญกรรมในตำแหน่ง
22 หม่อมหลวงจิรายุ นพวงศ์ 26 มีนาคม พ.ศ. 2518 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2546 ถึงแก่อสัญกรรมในตำแหน่ง
23 กิตติ สีหนนทน์ 26 มีนาคม พ.ศ. 2518 24 มกราคม พ.ศ. 2527 ถึงแก่อสัญกรรมในตำแหน่ง
24 สำราญ แพทยกุล 19 ธันวาคม พ.ศ. 2518 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 ถึงแก่อสัญกรรมในตำแหน่ง
25 เชาวน์ ณศีลวันต์ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2518 6 ธันวาคม พ.ศ. 2559
26 ธานินทร์ กรัยวิเชียร 15 ธันวาคม พ.ศ. 2520 14 ตุลาคม พ.ศ. 2559 ไปปฏิบัติหน้าที่แทนประธานองคมนตรี
2 ธันวาคม พ.ศ. 2559 6 ธันวาคม พ.ศ. 2559
27 กัลย์ อิศรเสนา ณ อยุธยา 18 เมษายน พ.ศ. 2522 12 สิงหาคม พ.ศ. 2539 ถึงแก่อสัญกรรมในตำแหน่ง
28 จิตติ ติงศภัทิย์ 3 มีนาคม พ.ศ. 2527 3 มีนาคม พ.ศ. 2538 ถึงแก่อสัญกรรมในตำแหน่ง
29 หม่อมหลวงอัศนี ปราโมช 3 มีนาคม พ.ศ. 2527 6 ธันวาคม พ.ศ. 2559
30 กำธน สินธวานนท์ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2530 6 ธันวาคม พ.ศ. 2559
31 พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2531 4 กันยายน พ.ศ. 2541 ไปดำรงตำแหน่งประธานองคมนตรี
32 สิทธิ เศวตศิลา 24 ธันวาคม พ.ศ. 2534 5 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ถึงแก่อสัญกรรมในตำแหน่ง
33 จุลนภ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา 24 ธันวาคม พ.ศ. 2534 29 กันยายน พ.ศ. 2549 ถึงแก่อสัญกรรมในตำแหน่ง
34 หม่อมราชวงศ์อดุลกิติ์ กิติยากร 9 เมษายน พ.ศ. 2535 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2547 ถึงแก่อสัญกรรมในตำแหน่ง
35 พิจิตร กุลละวณิชย์ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2536 6 ธันวาคม พ.ศ. 2559
36 อำพล เสนาณรงค์ 9 กันยายน พ.ศ. 2537 6 ธันวาคม พ.ศ. 2559
37 จำรัส เขมะจารุ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2537 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2558 ถึงแก่อสัญกรรมในตำแหน่ง
38 หม่อมหลวงทวีสันต์ ลดาวัลย์ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2538 7 เมษายน พ.ศ. 2549 ถึงแก่อสัญกรรมในตำแหน่ง
39 หม่อมราชวงศ์เทพกมล เทวกุล 7 สิงหาคม พ.ศ. 2540 6 ธันวาคม พ.ศ. 2559
40 ศักดา โมกขมรรคกุล 6 มกราคม พ.ศ. 2542 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2550 ถึงแก่อสัญกรรมในตำแหน่ง
41 เกษม วัฒนชัย 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2544 6 ธันวาคม พ.ศ. 2559
42 พลากร สุวรรณรัฐ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2544 6 ธันวาคม พ.ศ. 2559
43 สวัสดิ์ วัฒนายากร 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2545 13 มีนาคม พ.ศ. 2555 ถึงแก่อสัญกรรมในตำแหน่ง
44 พลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2546 1 ตุลาคม พ.ศ. 2549 กราบบังคมทูลลาไปดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี
8 เมษายน พ.ศ. 2551 6 ธันวาคม พ.ศ. 2559
45 สันติ ทักราล 15 มีนาคม พ.ศ. 2548 29 เมษายน พ.ศ. 2554 ถึงแก่อสัญกรรมในตำแหน่ง
46 พลเรือเอก ชุมพล ปัจจุสานนท์ 15 มีนาคม พ.ศ. 2548 6 ธันวาคม พ.ศ. 2559
47 อรรถนิติ ดิษฐอำนาจ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2550 6 ธันวาคม พ.ศ. 2559
48 ศุภชัย ภู่งาม 8 เมษายน พ.ศ. 2551 6 ธันวาคม พ.ศ. 2559
49 ชาญชัย ลิขิตจิตถะ 8 เมษายน พ.ศ. 2551 6 ธันวาคม พ.ศ. 2559
50 พลอากาศเอก ชลิต พุกผาสุข 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2554 6 ธันวาคม พ.ศ. 2559

รัชกาลปัจจุบัน

[แก้]

รายนามองคมนตรีในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลปัจจุบัน

ประธานองคมนตรี

[แก้]
ลำดับ รูป รายพระนาม/รายนาม เริ่มวาระ สิ้นสุดวาระ หมายเหตุ
- 160x160px[ลิงก์เสีย] ธานินทร์ กรัยวิเชียร 14 ตุลาคม พ.ศ. 2559 2 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ดำรงตำแหน่งเป็นการชั่วคราวระหว่างที่พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ ดำรงตำแหน่งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ระหว่างที่รัชกาลที่ 10 ยังมิได้ทรงตอบรับการขึ้นทรงราชย์
1 พลเอก เปรม ติณสูลานนท์ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2559 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร มีพระราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ เป็นประธานองคมนตรี
2 พลเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์ 2 มกราคม พ.ศ. 2563 ปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ พลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ เป็นประธานองคมนตรีสืบต่อจาก พลเอกเปรม ติณสูลานนท์

องคมนตรี

[แก้]
ลำดับ รูป รายนาม วาระ
1. พลเอก เปรม ติณสูลานนท์ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2559[14] – 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2562
2. พลเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2559[15] – 2 มกราคม พ.ศ. 2563
3. เกษม วัฒนชัย 6 ธันวาคม พ.ศ. 2559 – ปัจจุบัน
4. พลากร สุวรรณรัฐ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2559 – ปัจจุบัน
5. อรรถนิติ ดิษฐอำนาจ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2559 – ปัจจุบัน
6. ศุภชัย ภู่งาม 6 ธันวาคม พ.ศ. 2559 – ปัจจุบัน
7. ชาญชัย ลิขิตจิตถะ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2559 – 18 มกราคม พ.ศ. 2560
8. พลอากาศเอก ชลิต พุกผาสุข 6 ธันวาคม พ.ศ. 2559 – ปัจจุบัน
9. พลเอก ธีรชัย นาควานิช 6 ธันวาคม พ.ศ. 2559 – 19 มิถุนายน พ.ศ. 2561
10. พลเอก ไพบูลย์ คุ้มฉายา 6 ธันวาคม พ.ศ. 2559 – ปัจจุบัน
11. พลเอก ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2559 – ปัจจุบัน
12. วิรัช ชินวินิจกุล 12 ธันวาคม พ.ศ. 2559 – 3 มีนาคม พ.ศ. 2561
13. จรัลธาดา กรรณสูต 12 ธันวาคม พ.ศ. 2559 – ปัจจุบัน
14. พลเอก กัมปนาท รุดดิษฐ์ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2559 – ปัจจุบัน
15. พลเรือเอก พงษ์เทพ หนูเทพ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2560[16] – ปัจจุบัน
16. จิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา 12 มีนาคม พ.ศ. 2561[17] – ปัจจุบัน
17. อำพน กิตติอำพน 2 ตุลาคม พ.ศ. 2561[18] – ปัจจุบัน
18. พลเอก เฉลิมชัย สิทธิสาท 2 ตุลาคม พ.ศ. 2561[19] – ปัจจุบัน
19. พลอากาศเอก จอม รุ่งสว่าง 2 ตุลาคม พ.ศ. 2561[20] – ปัจจุบัน
20. นุรักษ์ มาประณีต 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2563[21] – ปัจจุบัน
21. เกษม จันทร์แก้ว 24 มีนาคม พ.ศ. 2564[22] – ปัจจุบัน
22. พลเอกบัณฑิตย์ มลายอริศูนย์ 21 ตุลาคม 2565[23] – ปัจจุบัน
23. พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2566[24] – ปัจจุบัน

อ้างอิง

[แก้]
  1. ประกาศตั้งองคมนตรีในพระราชพิธีศรีสัจปานกาลพระราชทาน
  2. พระราชพิธีศรีสัจปานกาล และตั้งองคมนตรี
  3. พระราชพิธีศรีสัจปานกาล แลตั้งองคมนตรี
  4. ทรงประกาศแต่งตั้งองคมนตรี
  5. "รายพระนามและนามผู้ซึ่งได้รับพระราชทานตราตั้งเป็นองคมนตรี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 33 (ง): 115. 16 เมษายน 2459. สืบค้นเมื่อ 26 มีนาคม 2563.
  6. ทรงประกาศแต่งตั้งองคมนตรี
  7. "Product Listing -". sale62.eurseree.com.
  8. ทรงประกาศแต่งตั้งตามวาระ
  9. ทรงประกาศแต่งตั้งเพิ่มเติม
  10. ทรงประกาศแต่งตั้งเพิ่มเติม
  11. มีประกาศยกเลิกพระราชบัญญัติองคมนตรี
  12. "ประกาศตั้งอภิรัฐมนตรี" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2011-11-20. สืบค้นเมื่อ 2017-01-02.
  13. รายพระนาม/รายนามประธานองคมนตรีในรัชกาลปัจจุบัน (พ.ศ. ๒๔๙๒ - )[ลิงก์เสีย]
  14. ราชกิจจานุเบกษา, พระราชโองการ ประกาศแต่งตั้งประธานองคมนตรี, เล่ม ๑๓๓, ตอนพิเศษ ๒๘๐ ง, ๒ ธันวาคม ๒๕๕๙
  15. พระราชโองการ ประกาศแต่งตั้งองคมนตรี
  16. พระราชโองการ แต่งตั้งองคมนตรี ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๔ ตอน ๑๕๔ ง พิเศษ หน้า ๑ ๘ มิถุนายน ๒๕๖๐
  17. พระราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งองคมนตรี เล่ม ๑๓๕ ตอน ๕๕ ง พิเศษ หน้า ๑ ๑๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๑
  18. พระราชโองการ ประกาศแต่งตั้งองคมนตรี ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๕ ตอน ๒๔๔ ง พิเศษ หน้า ๑ ๒ ตุลาคม ๒๕๖๑
  19. พระราชโองการ ประกาศแต่งตั้งองคมนตรี ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๕ ตอน ๒๔๔ ง พิเศษ หน้า ๑ ๒ ตุลาคม ๒๕๖๑
  20. พระราชโองการ ประกาศแต่งตั้งองคมนตรี ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๕ ตอน ๒๔๔ ง พิเศษ หน้า ๑ ๒ ตุลาคม ๒๕๖๑
  21. พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งองคมนตรี
  22. "ประกาศแต่งตั้งองคมนตรี ลงวันที่ 24 มีนาคม 2564" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. กรุงเทพฯ: สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี. 138 (พิเศษ 66 ง): 1. 2564-03-24. สืบค้นเมื่อ 2564-03-24. {{cite journal}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  23. โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง พล.อ. บัณฑิตย์ มลายอริศูนย์ เป็นองคมนตรี
  24. พระบรมราชโองการ ประกาศ เรื่อง แต่งตั้งองคมนตรี

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]