ข้ามไปเนื้อหา

ตำบลองครักษ์ (อำเภอบางปลาม้า)

พิกัด: 14°21′46.1″N 100°12′24.6″E / 14.362806°N 100.206833°E / 14.362806; 100.206833
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ตำบลองครักษ์
การถอดเสียงอักษรโรมัน
 • อักษรโรมันTambon Ongkharak
ประเทศไทย
จังหวัดสุพรรณบุรี
อำเภอบางปลาม้า
พื้นที่
 • ทั้งหมด40.00 ตร.กม. (15.44 ตร.ไมล์)
ประชากร
 (2566)[1]
 • ทั้งหมด5,010 คน
 • ความหนาแน่น125.25 คน/ตร.กม. (324.4 คน/ตร.ไมล์)
รหัสไปรษณีย์ 72150
รหัสภูมิศาสตร์720408
สารานุกรมประเทศไทย ส่วนหนึ่งของสารานุกรมประเทศไทย
องค์การบริหารส่วนตำบลองครักษ์
อบต.องครักษ์ตั้งอยู่ในจังหวัดสุพรรณบุรี
อบต.องครักษ์
อบต.องครักษ์
ที่ตั้งที่ทำการองค์การบริหารส่วนตำบลองครักษ์
พิกัด: 14°21′46.1″N 100°12′24.6″E / 14.362806°N 100.206833°E / 14.362806; 100.206833
ประเทศ ไทย
จังหวัดสุพรรณบุรี
อำเภอบางปลาม้า
พื้นที่
 • ทั้งหมด40.00 ตร.กม. (15.44 ตร.ไมล์)
ประชากร
 (2566)
 • ทั้งหมด5,010 คน
 • ความหนาแน่น125.25 คน/ตร.กม. (324.4 คน/ตร.ไมล์)
รหัส อปท.06720418
ที่อยู่ที่ทำการหมู่ 1 ตำบลองครักษ์ อำเภอบางปลาม้า จังหวัดสุพรรณบุรี 72150
เว็บไซต์ongkarak-suphan.go.th
สารานุกรมประเทศไทย ส่วนหนึ่งของสารานุกรมประเทศไทย

องครักษ์ เป็นตำบลในอำเภอบางปลาม้า จังหวัดสุพรรณบุรี

ที่ตั้งและอาณาเขต

[แก้]

ตำบลองครักษ์ มีอาณาเขตติดต่อกับเขตการปกครองข้างเคียงดังต่อไปนี้[2]

ประวัติ

[แก้]

เดิมพื้นที่ตำบลองครักษ์มี 2 ตำบล ได้แก่ ตำบลองครักษ์ และตำบลทองขาหย่าง ต่อมาปี พ.ศ. 2472 พระยาพิศาลสารเกษตร (พร พิมพสูตร) ผู้ว่าราชการจังหวัดสุพรรณบุรี และหม่อมเจ้าธานีนิวัต เสนาบดีกระทรวงธรรมการ พิจารณายุบตำบลทองขาหย่าง เข้ากับตำบลองครักษ์[3] เนื่องจากมีพื้นที่เพียง 4 หมู่บ้านและมีอาณาเขตติดต่อใกล้เคียงกัน

การปกครองส่วนภูมิภาค

[แก้]

การปกครองส่วนภูมิภาค

[แก้]

ตำบลองครักษ์แบ่งพื้นที่การปกครองออกเป็น 7 หมู่บ้าน ได้แก่

  • หมู่ที่ 1 บ้านองครักษ์
  • หมู่ที่ 2 บ้านคลองโมง
  • หมู่ที่ 3 บ้านทองขาหย่าง
  • หมู่ที่ 4 บ้านกระทุ่มทอง
  • หมู่ที่ 5 บ้านรางขโมย
  • หมู่ที่ 6 บ้านสะพาน
  • หมู่ที่ 7 บ้านหงษ์

การปกครองส่วนท้องถิ่น

[แก้]

ตำบลองครักษ์เดิมมีฐานะเป็นสภาตำบลองครักษ์ ในปี พ.ศ. 2517[4] ต่อมาปี พ.ศ. 2538 สภาตำบลองครักษ์มี 7 หมู่บ้าน พื้นที่ 27.12 ตารางกิโลเมตร ประชากร 5,761 คน และ 1,298 ครัวเรือน[5] ปี พ.ศ. 2539 กระทรวงมหาดไทยจึงพิจารณาให้สภาตำบลองครักษ์อยู่ในเงื่อนไขที่จะจัดตั้งเป็นองค์การบริหารส่วนตำบลได้ จึงได้รับการจัดตั้งเป็นองค์การบริหารส่วนตำบลองครักษ์[6]

อ้างอิง

[แก้]
  1. ประชากรในเขตตำบลองครักษ์ อำเภอบางปลาม้า จังหวัดสุพรรณบุรี เดือนธันวาคม พ.ศ. 2566 โดยกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย.
  2. "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การกำหนดเขตตำบลในท้องที่อำเภอบางปลาม้า จังหวัดสุพรรณบุรี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 116 (ตอนพิเศษ 21 ง): 48–85. วันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2542
  3. "ประกาศกระทรวงธรรมการ เรื่อง การใช้พระราชบัญญัติประถมศึกษา พ.ศ. ๒๔๖๔ สำหรับบางตำบลในจังหวัดสุพรรณบุรี มณฑลนครชัยศรี ซึ่งได้มีการเปลี่ยนแปลง" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 46 (0 ก): 86–88. วันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2472
  4. "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การจัดตั้งสภาตำบลตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๓๒๖ ลงวันที่ ๑๓ ธันวาคม ๒๕๑๕" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 91 (87 ง): (ฉบับพิเศษ) 1–45. วันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2517
  5. ประชากรรายตำบลในประเทศไทย ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2538 (เขตตำบลองครักษ์ อำเภอบางปลาม้า จังหวัดสุพรรณบุรี) สืบค้นเมื่อวันที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2567
  6. "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง จัดตั้งองค์การบริหารส่วนตำบล" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 113 (9 ง): 5–219. วันที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2539