ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดเชียงใหม่ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2522

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดเชียงใหม่ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2522

← พ.ศ. 2519 22 เมษายน พ.ศ. 2522 พ.ศ. 2526 →

8 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน663,985
ผู้ใช้สิทธิ49.09%
  First party Second party Third party
 
Kukrit Pramoj 1974 (cropped).jpg
ประมาณ อดิเรกสาร.jpg
Thanat Khoman (cropped).jpg
ผู้นำ หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช ประมาณ อดิเรกสาร ถนัด คอมันตร์
พรรค กิจสังคม ชาติไทย ประชาธิปัตย์
ที่นั่งก่อนหน้า 2 1 4
ที่นั่งที่ชนะ 3 2 1
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น1 เพิ่มขึ้น1 ลดลง3

  Fourth party Fifth party
 
พรรครวมไทย.jpg
พรรค รวมไทย (พ.ศ. 2529) ไม่สังกัดพรรค
ที่นั่งก่อนหน้า พรรคใหม่ 0
ที่นั่งที่ชนะ 1 1
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น1 เพิ่มขึ้น1

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์
คณะปฎิวัติ

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์
อิสระ

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ พ.ศ. 2522 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2522 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2522 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 3 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 8 คน จำนวนที่นั่งเพิ่มจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อ พ.ศ. 2519 1 ที่นั่ง แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 1 และ 2) และ 2 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 3)[1]

ภาพรวม

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

[แก้]

เขต 1เขต 2เขต 3

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองเชียงใหม่, อำเภอสันกำแพง, อำเภอสารภี, อำเภอดอยสะเก็ด และอำเภอหางดง

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดเชียงใหม่
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ชาติไทย พันตำรวจเอก ธานี วีระเดชะ (4) 71,796
กิจสังคม ปรีดา พัฒนถาบุตร (5)* 61,872
ชาติไทย สุรพันธ์ ชินวัตร (3)* 44,045
กิจสังคม สุบิน ปิ่นขยัน (6) 36,784
ไม่สังกัดพรรค พิรุณ อินทราวุธ (7)✔ 33,696
ประชาธิปัตย์ อินทร์สม ไชยซาววงศ์ (1)✔ 23,594
พลังใหม่ โอกาส พลางกูร (2) 8,753
สังคมประชาธิปไตย อินสอน บัวเขียว (9)✔ 6,993
ไม่สังกัดพรรค ทองรัก ลีรพันธุ์ (11) 5,794
สังคมประชาธิปไตย อุดม สินธุพงศ์ (10) 3,790
ไม่สังกัดพรรค อดิศักดิ์ กาวิไล (8) 1,872
ไม่สังกัดพรรค ภิรมย์ นิลวิเชียร (12) 1,033
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ชาติไทย ได้ที่นั่งจาก กิจสังคม
กิจสังคม รักษาที่นั่ง
ชาติไทย รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 2

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอแม่ริม, อำเภอสันทราย, อำเภอสะเมิง, อำเภอแม่แตง, อำเภอเชียงดาว, อำเภอพร้าว, อำเภอฝาง และอำเภอแม่อาย

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดเชียงใหม่
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
กิจสังคม มอนอินทร์ รินคำ (7) 60,865
ไม่สังกัดพรรค เจริญ เชาวน์ประยูร (6) 50,492 ' '
ประชาธิปัตย์ ไกรสร ตันติพงศ์ (2)* 49,876
ไม่สังกัดพรรค ทองชอบ กินาวงศ์ (8) 44,333
ไม่สังกัดพรรค จำรูญ ไชยลังการณ์ (3) 36,114
ประชาธิปัตย์ อารีย์ วีระพันธุ์ (4)* 32,434
ไม่สังกัดพรรค บรรยงค์ สุนนท์ชัย (1) 19,289
ไม่สังกัดพรรค ประพัฒน์ สิทธิสังข์ (5) 14,947
เสรีธรรม (พ.ศ. 2522) อินสอน เมธา (10) 10,480
เสรีธรรม (พ.ศ. 2522) อมร คานิยอร์ (11) 8,612
ไม่สังกัดพรรค สมบูรณ์ ปัญญามานะ (9) 8,358
ไม่สังกัดพรรค สมควร จันทนุปาน (12) 4,630
สังคมประชาธิปไตย ปริญญา กลิ่นทอง (13) 2,713
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
กิจสังคม ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์
ไม่สังกัดพรรค ชนะที่นั่ง (เขตเลือกตั้งใหม่)
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 3

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วยอำเภอสันป่าตอง, อำเภอจอมทอง, อำเภอฮอด, อำเภอแม่แจ่ม, อำเภออมก๋อย, และกิ่งอำเภอดอยเต่า

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 3 จังหวัดเชียงใหม่
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
กิจสังคม อำนวย ยศสุข (3) 38,513
รวมไทย (พ.ศ. 2529) พลตำรวจตรี สง่า กิตติขจร (5) 21,987
กิจสังคม วงศ์ เปรมภิวงศ์ (4) 16,111
รวมไทย (พ.ศ. 2529) ส่งสุข ภัคเกษม (6)* 16,100
ไม่สังกัดพรรค สุทน ปันทวงศ์ (8) 13,450
ประชาธิปัตย์ ศรีมุกข์ ติลผานันท์ (2) 6,616
พลังใหม่ สิบเอก บัญชา แดงขาวเขียว (1) 5,145
ไม่สังกัดพรรค เสรี เมืองมูล (9) 1,661
ไม่สังกัดพรรค ธงชัย เรืองศรีมั่น (7) 1,119
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
กิจสังคม ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์
รวมไทย (พ.ศ. 2529) ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. รายงานวิจัยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2522. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2523