ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดยะลาในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2522

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดยะลาในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2522

← พ.ศ. 2519 22 เมษายน พ.ศ. 2522 พ.ศ. 2526 →

2 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน122,137
ผู้ใช้สิทธิ41.82%
  First party Second party Third party
 
ผู้นำ หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช บุญยง วัฒนพงศ์ ถนัด คอมันตร์
พรรค กิจสังคม ชาติประชาชน (พ.ศ. 2522) ประชาธิปัตย์
ที่นั่งก่อนหน้า 0 พรรคใหม่ 1
ที่นั่งที่ชนะ 1 1 0
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น1 เพิ่มขึ้น1 ลดลง1

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์
คณะปฎิวัติ

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์
อิสระ

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดยะลา พ.ศ. 2522 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2522 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2522 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 1 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 2 คน จำนวนที่นั่งเพิ่มจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อปี พ.ศ. 2519 1 ที่นั่ง แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 2 คน[1]

ภาพรวม[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต[แก้]

เขต 1

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยจังหวัดยะลาทั้งจังหวัด

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดยะลา
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
กิจสังคม วันมูหะมัดนอร์ มะทา (2) 18,565
ชาติประชาชน (พ.ศ. 2522) อดุล ภูมิณรงค์ (4)✔ 15,878
เสรีธรรม (พ.ศ. 2522) ประสาท ไชยะโท (7)✔ 9,954
พลังใหม่ เฉลิม เบ็ญหาวัน (11) 8,772
ชาติประชาชน (พ.ศ. 2522) เอกราช กริชระเด่น (3) 8,609
ประชาธิปัตย์ ไผท เพ็ชรจำรัส (6) 7,580
ประชาธิปัตย์ อุสมาน อุเซ็ง (5)* 6,194
รวมไทย (พ.ศ. 2529) ร้อยโท กระจ่าง ตุลารักษ์ (1)✔ 5,856
ไม่สังกัดพรรค อับดุลเลาะ มาศสมันต์ (9) 4,912
ไม่สังกัดพรรค ชัย บุณยพัฒน์ (10) 2,153
เสรีธรรม (พ.ศ. 2522) นิวัฒน์ ชาจิตตะ (8) 1,222
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
กิจสังคม ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์
ชาติประชาชน (พ.ศ. 2522) ชนะที่นั่ง (เขตเลือกตั้งใหม่)

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. รายงานวิจัยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2522. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2523