จังหวัดสุราษฎร์ธานีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2522
| |||||||||||||||||||
4 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย | |||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลงทะเบียน | 259,108 | ||||||||||||||||||
ผู้ใช้สิทธิ | 42.09% | ||||||||||||||||||
| |||||||||||||||||||
|
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุราษฎร์ธานี พ.ศ. 2522 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2522 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2522 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 2 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 4 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อ พ.ศ. 2519 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 2 คน[1]
ภาพรวม
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต
[แก้]สัญลักษณ์และความหมาย | |
* | ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา |
** | ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา |
† | ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์ |
✔ | ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว |
( ) | หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร |
ตัวหนา | ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง |
เขตเลือกตั้งที่ 1
[แก้]เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี, อำเภอบ้านนาสาร, อำเภอกาญจนดิษฐ์, อำเภอดอนสัก, อำเภอเกาะสมุย, อำเภอเกาะพะงัน และกิ่งอำเภอบ้านนาเดิม
ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดสุราษฎร์ธานี | |||||
---|---|---|---|---|---|
พรรค | ผู้สมัคร | คะแนนเสียง | % | ± | |
ประชาธิปัตย์ | บัญญัติ บรรทัดฐาน (3)* | 21,943 | |||
กิจสังคม | ยุทธกิจ เจนปรมกิจ (5) | 17,838 | |||
ประชาธิปัตย์ | ประดิษฐ์ วิชัยดิษฐ (4) | 15,901 | |||
กิจสังคม | นรลักษณ์ สร้างทองดี (6) | 14,120 | |||
ไม่สังกัดพรรค | สิทธิพร โพธิ์เพชร (7) | 7,434 | |||
ชาติไทย | ประจักษ์ พัฒนพิทักษ์ (2) | 6,354 | |||
เสรีธรรม (พ.ศ. 2522) | กำธร วังอุดม (8) | 5,776 | |||
พลังใหม่ | วรรโณ ขอประเสริฐ (1) | 2,413 | |||
ไม่สังกัดพรรค | ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร (9)✔ | 878 | |||
ไม่สังกัดพรรค | ละออง หัศบำเรอ (10) | 462 | |||
บัตรดี | – | ||||
ไม่ประสงค์ลงคะแนน | – | ||||
บัตรเสีย | – | ||||
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง | – | ||||
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง | — | ||||
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง | |||||
กิจสังคม ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์ |
เขตเลือกตั้งที่ 2
[แก้]เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอพุนพิน, อำเภอเคียนซา, อำเภอพระแสง, อำเภอคีรีรัฐนิคม, อำเภอไชยา, อำเภอพนม, อำเภอท่าฉาง, อำเภอท่าชนะ, อำเภอเวียงสระ และอำเภอบ้านตาขุน
ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดสุราษฎร์ธานี | |||||
---|---|---|---|---|---|
พรรค | ผู้สมัคร | คะแนนเสียง | % | ± | |
ประชาธิปัตย์ | สุเทพ เทือกสุบรรณ (4) | 20,998 | |||
กิจสังคม | ภิญญา ช่วยปลอด (6) | 19,339 | |||
ประชาธิปัตย์ | ไพฑูรย์ วงศ์วานิช (3)* | 17,637 | |||
ไม่สังกัดพรรค | สุเทพ ทวีพาณิชย์ (2) | 14,420 | |||
กิจสังคม | ปราโมทย์ หวานแก้ว (7) | 12,746 | |||
ชาติไทย | ชอบ อินทรมณี (1) | 7,227 | |||
พลังใหม่ | ประสิทธิ์ พุ่มโพธิ์ทอง (5) | 3,700 | |||
พลังใหม่ | ไพบูลย์ เมืองลาย (9) | 1,768 | |||
ไม่สังกัดพรรค | คลิ้ง จรัญรักษ์ (8) | 1,732 | |||
บัตรดี | – | ||||
ไม่ประสงค์ลงคะแนน | – | ||||
บัตรเสีย | – | ||||
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง | – | ||||
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง | — | ||||
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง | |||||
กิจสังคม ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์ |
ดูเพิ่ม
[แก้]- จังหวัดสุราษฎร์ธานีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2519
- จังหวัดสุราษฎร์ธานีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2526
อ้างอิง
[แก้]- ↑ รายงานวิจัยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2522. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2523