ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดเชียงใหม่ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2526

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดเชียงใหม่ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2526

← พ.ศ. 2522 18 เมษายน พ.ศ. 2526 พ.ศ. 2529 →

8 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน764,844
ผู้ใช้สิทธิ44.90%
  First party Second party Third party
 
Kukrit Pramoj 1974 (cropped).jpg
ประมาณ อดิเรกสาร.jpg
Bhichai Rattakul 2010-04-01.jpg
ผู้นำ หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช ประมาณ อดิเรกสาร พิชัย รัตตกุล
พรรค กิจสังคม ชาติไทย ประชาธิปัตย์
ที่นั่งก่อนหน้า 4 2 1
ที่นั่งที่ชนะ 6 1 1
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น2 ลดลง1 Steady0

  Fourth party
 
พรรครวมไทย.jpg
พรรค รวมไทย (พ.ศ. 2529)
ที่นั่งก่อนหน้า 1
ที่นั่งที่ชนะ 0
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง1

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

เปรม ติณสูลานนท์
อิสระ

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

เปรม ติณสูลานนท์
อิสระ

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ พ.ศ. 2526 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2526 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 18 เมษายน พ.ศ. 2526 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 3 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 8 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อ พ.ศ. 2522 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 1 และ 2) และ 2 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 3)[1]

ภาพรวม

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

[แก้]

เขต 1เขต 2เขต 3

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองเชียงใหม่, อำเภอสันกำแพง, อำเภอสารภี, อำเภอดอยสะเก็ด และอำเภอหางดง

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดเชียงใหม่
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
กิจสังคม ปรีดา พัฒนถาบุตร (2)* 62,029
กิจสังคม สุบิน ปิ่นขยัน (3) 54,493
ชาติไทย สุรพันธ์ ชินวัตร (11)* 43,523
ประชาธิปัตย์ วารินทร์ ลิ้มศักดากุล (5) 33,119
กิจสังคม ชัชวาล ชุติมา (4)✔ 22,334
ชาติไทย พันตำรวจเอก ธานี วีระเดชะ (9)* 13,784
ประชาธิปัตย์ บัณฑิต เศรษฐเสถียร (6) 11,804
ชาติไทย อินทร์สม ไชยซาววงศ์ (10)✔ 11,747
ไม่สังกัดพรรค นิคม ดำรงค์กิจเกษตร (15) 10,241
ประชาธิปัตย์ ขวัญชัย สกุลทอง (7) 6,887
ประชากรไทย มนตรี วงศ์เกษม (16) 6,858
สยามประชาธิปไตย สมาน หงสนันทน์ (8) 6,535
ประชาเสรี โอภาส พลางกูร (1) 6,534
สังคมประชาธิปไตย (พ.ศ. 2525) อินสอน บัวเขียว (21)✔ 4,718
ประชากรไทย เจริญ พรหมวรรณ (18) 3,586
ประชากรไทย สุรพร เพชรวิสัย (17) 3,445
สังคมประชาธิปไตย (พ.ศ. 2525) อุดม สินธุพงษ์ (20) 3,179
ไม่สังกัดพรรค ยุพิน สุจริตธรรม (12) 2,526
ประชาเสรี สมถวิล ณ เชียงใหม่ (14) 1,551
ประชาเสรี ทองอยู่ ศิวิลัย (13) 1,331
ไม่สังกัดพรรค จำรูญ รัตนพิไชย (19) 614
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
กิจสังคม รักษาที่นั่ง
กิจสังคม ได้ที่นั่งจาก ชาติไทย
ชาติไทย รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 2

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอแม่ริม, อำเภอสันทราย, อำเภอสะเมิง, อำเภอแม่แตง, อำเภอเชียงดาว, อำเภอพร้าว, อำเภอฝาง, อำเภอแม่อาย และกิ่งอำเภอเวียงแหง

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดเชียงใหม่
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
กิจสังคม เจริญ เชาวน์ประยูร (7)* 78,645
ประชาธิปัตย์ ไกรสร ตันติพงศ์ (3)* 68,764
กิจสังคม มานะ แพรสกุล (8) 40,062
กิจสังคม มอนอินทร์ รินคำ (9)* 36,730
ประชาธิปัตย์ บวร กินาวงศ์ (5) 28,248
ประชาธิปัตย์ บวร ชุติมา (4) 28,245
ชาติประชาธิปไตย บรรยงค์ สุนนท์ชัย (2) 20,355
สยามประชาธิปไตย บุญส่ง พ่วงพิพัฒน์ (11) 17,951
ชาติไทย โชคชัย ภาวสุทธิการ (6) 13,482
ชาติประชาธิปไตย พันเอก เขียน ธรรมวาทิตย์ (1) 11,139
ชาติไทย องอาจ ตันตินาคม (12) 7,335
ประชาเสรี พินิจ ชินชัย (17) 6,086
ประชาเสรี ประไพ เชิดสุขประชา (10) 5,589
ประชากรไทย ประสิทธิ์ พิทักษ์ (14) 4,307
ประชาเสรี จ่าสิบตำรวจ ประมวล บุญเรือง (13) 4,097
ประชากรไทย เอนก ลิ่มพิทักษ์ (15) 3,978
ประชากรไทย ยุทธยา พิทักษ์ (16) 2,719
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
กิจสังคม รักษาที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
กิจสังคม รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 3

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วยอำเภอสันป่าตอง, อำเภอจอมทอง, อำเภอฮอด, อำเภอแม่แจ่ม, อำเภออมก๋อย, และอำเภอดอยเต่า

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 3 จังหวัดเชียงใหม่
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
กิจสังคม อำนวย ยศสุข (3)* 39,319
กิจสังคม สยม รามสูต (4) 28,086
สยามประชาธิปไตย ส่งสุข ภัคเกษม (5)✔ 15,249
ชาติไทย พลตำรวจตรี สง่า กิตติขจร (6)* 13,383
ชาติไทย ชาญชัย ไพรัชกุล (7) 12,605
พลังใหม่ สุทน ปันทวงศ์ (1) 9,202
ประชาธิปัตย์ วีรพงษ์ ตันสุหัช (2) 9,025
ไม่สังกัดพรรค หม่อมราชวงศ์ เจริญสุข สุขสวัสดิ์ (11) 3,138
ประชาเสรี วิรัตน์ ปัญญาทิพย์รัตน์ (12) 2,770
ประชาเสรี สิบเอก บัญชา แดงขาวเขียว (8) 2,717
ประชากรไทย ประพันธ์ ศฤงฆานนท์ (10) 615
ประชากรไทย นิพันธ์ บุตรสิงห์ (9) 576
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
กิจสังคม รักษาที่นั่ง
กิจสังคม ได้ที่นั่งจาก รวมไทย (พ.ศ. 2529)

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. รายงานวิจัยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2526. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2526