ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดอุบลราชธานีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2538

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดอุบลราชธานีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2538

← กันยายน พ.ศ. 2535 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2538 พ.ศ. 2539 →

11 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน1,042,809
ผู้ใช้สิทธิ63.27%
  First party Second party Third party
 
Chuan Leekpai 2010-04-01.jpg
Chavalit Yongchaiyudh.jpg
Chatichai Choonhavan.jpg
ผู้นำ ชวน หลีกภัย ชวลิต ยงใจยุทธ ชาติชาย ชุณหะวัณ
พรรค ประชาธิปัตย์ ความหวังใหม่ ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)
ที่นั่งก่อนหน้า 4 3 2
ที่นั่งที่ชนะ 5 3 1
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น1 Steady0 ลดลง1

  Fourth party Fifth party Sixth party
 
Montri Phongphanit.jpg
Amnuay Viravan.jpg
Thaksin crop.jpg
ผู้นำ มนตรี พงษ์พานิช อำนวย วีรวรรณ ทักษิณ ชินวัตร
พรรค กิจสังคม นำไทย พลังธรรม
ที่นั่งก่อนหน้า 1 พรรคใหม่ 1
ที่นั่งที่ชนะ 1 1 0
ที่นั่งเปลี่ยน Steady0 เพิ่มขึ้น1 ลดลง1

  Seventh party
 
Banharn Silpa-archa (cropped).jpg
ผู้นำ บรรหาร ศิลปอาชา
พรรค ชาติไทย
ที่นั่งก่อนหน้า 1
ที่นั่งที่ชนะ 0
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง1

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

ชวน หลีกภัย
ประชาธิปัตย์

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

บรรหาร ศิลปอาชา
ชาติไทย

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุบลราชธานี พ.ศ. 2538 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2538 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2538 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 4 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 11 คน จำนวนที่นั่งลดลงจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อเดือนกันยายน พ.ศ. 2535 1 ที่นั่ง ภายหลังจากการแยกพื้นที่บางส่วนของจังหวัดอุบลราชธานีจัดตั้งเป็นจังหวัดอำนาจเจริญ แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 1, 2 และ 3) และ 2 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 4)[1]

ภาพรวม

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

[แก้]

เขต 1เขต 2เขต 3เขต 4

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองอุบลราชธานี, อำเภอวารินชำราบ, อำเภอสำโรง และกิ่งอำเภอดอนมดแดง

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดอุบลราชธานี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ เกรียง กัลป์ตินันท์ (4) 90,174
กิจสังคม ธำรงค์ ไทยมงคล (13)✔ 79,105
ความหวังใหม่ สุรศักดิ์ เทียมประเสริฐ (7)* 78,344
มวลชน ไชยศิริ เรืองกาญจนเศรษฐ์ (16)✔ 77,475
ชาติไทย พูลสวัสดิ์ โหตระไวศยะ (1)* 53,465
ความหวังใหม่ สุพล ฟองงาม (8) 17,066
พลังธรรม บัณฑิต จูมพระบุตร (10) 14,770
พลังธรรม ธรรมนูญ พิมพัฒน์ (11) 8,761
พลังธรรม ว่าที่ร้อยตรี ธงศักดิ์ จันทรมานิตย์ (12) 7,407
ความหวังใหม่ สมบัติ สุตะลา (9) 4,450
ประชาธิปัตย์ อำนวย ดอกบัว (5) 3,384
ประชาธิปัตย์ เอกไชย ไชยะโอชะ (6) 3,304
ชาติไทย ปริวัตร บ้านใหม่ (3) 2,749
ชาติไทย มโนพร วาจรัต (2) 2,195
กิจสังคม ปัญญา สาระวิทย์ (14) 2,153
มวลชน เชื้อชาย มูลสาร (17) 1,306
ประชากรไทย สายพิณ พันธุ์บุตร (19) 1,044
กิจสังคม เสมอทรัพย์ เพ็งนารินทร์ (15) 922
ประชากรไทย พิเชษฐ์ นามศิริ (20) 488
ประชากรไทย โอ่น วีระศักดิ์ (21) 482
มวลชน มานิต ล้านศรี (18) 450
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก พลังธรรม
กิจสังคม ได้ที่นั่งจาก ความหวังใหม่
ความหวังใหม่ รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 2

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอเดชอุดม, อำเภอบุณฑริก, อำเภอน้ำยืน, อำเภอนาจะหลวย, กิ่งอำเภอนาเยีย และกิ่งอำเภอทุ่งศรีอุดม

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดอุบลราชธานี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ความหวังใหม่ ตุ่น จินตะเวช (4)✔ 82,533
นำไทย ประสิทธิ์ ณรงค์เดช (7)✔ 70,385
ความหวังใหม่ ปัญญา จินตะเวช (5)✔ 54,359
ชาติไทย ชาตรี พิริยะกิจไพบูลย์ (10)* 47,208
ประชาธิปัตย์ โอวาท จุลโคตร (1)* 39,285
ความหวังใหม่ ศักดิ์ชัย จินตะเวช (6) 33,738
นำไทย วิทยา บันทุปา (9) 32,422
นำไทย กิ่งแก้ว คู่พิทักษ์ (8) 25,969
ชาติไทย นิทรา เทียมสุวรรณ (12) 19,820
ประชาธิปัตย์ ศุภชัย พุทธเทศก์ (2) 12,017
ประชาธิปัตย์ บุรีรักษ์ นามบุรี (3) 7,383
ชาติไทย สุรชัย พิริยะกิจไพบูลย์ (11) 7,240
ประชากรไทย สมพูล วรรณทอง (13) 623
ประชากรไทย สุพล มิ่งขวัญ (14) 449
ประชากรไทย ประเสริฐ กิ่งสาร (15) 408
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ความหวังใหม่ ได้ที่นั่งจาก ชาติไทย
นำไทย ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์
ความหวังใหม่ รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 3

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วยอำเภอเขมราฐ, อำเภอพิบูลมังสาหาร, อำเภอโขงเจียม, อำเภอศรีเมืองใหม่, อำเภอตาลสุม, อำเภอโพธิ์ไทร, อำเภอสิรินธร, กิ่งอำเภอนาตาล และกิ่งอำเภอสว่างวีระวงศ์

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 3 จังหวัดอุบลราชธานี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) ปรีชา เลาหพงศ์ชนะ (2)✔ 98,129
ประชาธิปัตย์ สิทธิชัย โควสุรัตน์ (5) 83,563
ประชาธิปัตย์ อิสสระ สมชัย (4)* 69,424
ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) อดิศักดิ์ โภคกุลกานนท์ (1)* 65,925
ประชาธิปัตย์ อดิศักดิ์ กุลวงศ์ (6) 42,388
ความหวังใหม่ พันตรี พูนศักดิ์ พสุนนท์ (13)✔ 35,876
นำไทย สมภาร แก้วพรหม (10) 32,693
ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) ศรีคมสันต์ คงชนะ (3) 8,184
ความหวังใหม่ สฤษดิ์ โหตระไวศยะ (14) 5,941
นำไทย สดใส ปัญญาสาร (11) 5,136
ดำรงไทย (พ.ศ. 2538) เชวงศักดิ์ เศรษฐมาตย์ (7)✔ 3,288
ประชากรไทย พฤทธิสิทธิ์ บุญทน (17) 2,307
ประชากรไทย ปรีชา ภารการ (16) 2,255
นำไทย นิพนธ์ บรรเทา (12) 925
ความหวังใหม่ วิสิทธิ์ เอกเอี่ยม (15) 775
ดำรงไทย (พ.ศ. 2538) อนุชา ช้างสาร (9) 602
ประชากรไทย บัญญัติ ทองบุ (18) 584
ดำรงไทย (พ.ศ. 2538) สระไชย ส่งสุข (8) 503
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) ชนะที่นั่ง (เขตเลือกตั้งใหม่)
ประชาธิปัตย์ ชนะที่นั่ง (เขตเลือกตั้งใหม่)
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 4

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 4 ประกอบด้วยอำเภอเขื่องใน, อำเภอม่วงสามสิบ, อำเภอตระการพืชผล, อำเภอกุดข้าวปุ้น และกิ่งอำเภอเหล่าเสือโก้ก

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 4 จังหวัดอุบลราชธานี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ วิฑูรย์ นามบุตร (1)* 60,745
ประชาธิปัตย์ ชูวิทย์ พิทักษ์พรพัลลภ (2) 58,804
ความหวังใหม่ วิทยา ขันอาสา (4)* 51,898
ความหวังใหม่ สนิท จันทรวงศ์ (3)* 43,681
กิจสังคม ดุสิต โสภิตชา (9)* 25,433
ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) สุรศักดิ์ บัวขาว (7)* 16,696
กิจสังคม สวิง บุญเจิม (10) 5,584
เสรีธรรม (พ.ศ. 2535) นันทิภา ภาวะบุตร (5) 1,582
ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) บุญส่ง ภุ่บุบผา (8) 591
เอกภาพ ปฐมพงษ์ เรืองแสน (11) 480
เสรีธรรม (พ.ศ. 2535) พิศวาท สีก่ำ (6) 397
เอกภาพ นาฎศิลป์ เรืองแสน (12) 240
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. ข้อมูล สถิติ และผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2538. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2538