จังหวัดตรังในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2538
หน้าตา
| |||||||||||||||||||
4 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย | |||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลงทะเบียน | 326,321 | ||||||||||||||||||
ผู้ใช้สิทธิ | 68.36% | ||||||||||||||||||
| |||||||||||||||||||
|
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรัง พ.ศ. 2538 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2538 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2538 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 2 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 4 คน จำนวนที่นั่งเพิ่มจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อเดือนกันยายน พ.ศ. 2535 1 ที่นั่ง แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 2 คน[1]
ภาพรวม
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต
[แก้]สัญลักษณ์และความหมาย | |
* | ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา |
** | ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา |
† | ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์ |
✔ | ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว |
( ) | หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร |
ตัวหนา | ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง |
เขตเลือกตั้งที่ 1
[แก้]เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองตรัง, อำเภอนาโยง, อำเภอย่านตาขาว, อำเภอปะเหลียน และกิ่งอำเภอหาดสำราญ
ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดตรัง | |||||
---|---|---|---|---|---|
พรรค | ผู้สมัคร | คะแนนเสียง | % | ± | |
ประชาธิปัตย์ | ชวน หลีกภัย (1)* | 113,819 | 98.66 | ||
ประชาธิปัตย์ | วิเชียร คันฉ่อง (2)* | 109,090 | 94.56 | ||
พลังธรรม | ทินกร ว่องวชิราพาณิชย์ (3) | 3,523 | 3.05 | ||
พลังธรรม | วสันต์ วงศ์น้อย (4) | 2,545 | 2.21 | ||
ดำรงไทย (พ.ศ. 2538) | นิจ เพชรสุทธิ์ (5) | 1,362 | 1.18 | ||
ดำรงไทย (พ.ศ. 2538) | อนันต์ หยูจีน (6) | 389 | 0.34 | ||
บัตรดี | – | ||||
ไม่ประสงค์ลงคะแนน | – | ||||
บัตรเสีย | – | ||||
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง | – | ||||
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง | — | ||||
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง | |||||
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง |
เขตเลือกตั้งที่ 2
[แก้]เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอห้วยยอด, อำเภอวังวิเศษ, อำเภอสิเกา, อำเภอกันตัง และกิ่งอำเภอรัษฎา
ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดตรัง | |||||
---|---|---|---|---|---|
พรรค | ผู้สมัคร | คะแนนเสียง | % | ± | |
ประชาธิปัตย์ | ทวี สุระบาล (1)* | 95,532 | 96.87 | ||
ประชาธิปัตย์ | สาทิตย์ วงศ์หนองเตย (2) | 87,887 | 89.12 | ||
ชาติไทย | พิทักษ์ รังสีธรรม (5)✔ | 10,926 | 11.08 | ||
พลังธรรม | เรวัต ชูวงศ์ทวิพงศ์ (4) | 1,442 | 1.46 | ||
พลังธรรม | อติศักดิ์ โชติกเสถียร (3) | 895 | 0.91 | ||
ชาติไทย | กิตติ อภิลักษ์นุกูล (6) | 560 | 0.57 | ||
บัตรดี | – | ||||
ไม่ประสงค์ลงคะแนน | – | ||||
บัตรเสีย | – | ||||
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง | – | ||||
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง | — | ||||
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง | |||||
ประชาธิปัตย์ ชนะที่นั่ง (เขตเลือกตั้งใหม่) |
ดูเพิ่ม
[แก้]- จังหวัดตรังในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กันยายน พ.ศ. 2535
- จังหวัดตรังในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2539
อ้างอิง
[แก้]- ↑ ข้อมูล สถิติ และผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2538. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2538