ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดอุบลราชธานีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป ธันวาคม พ.ศ. 2500

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดอุบลราชธานีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป ธันวาคม พ.ศ. 2500

← กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 15 ธันวาคม พ.ศ. 2500 พ.ศ. 2512 →

7 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน437,770
ผู้ใช้สิทธิ41.17%
  First party Second party Third party
 
สุกิจ นิมมานเหมินทร์ (สุกิจ นิมมานเหมินท์).jpg
ควง อภัยวงศ์ 2475.jpg
ผู้นำ สุกิจ นิมมานเหมินทร์ ควง อภัยวงศ์
พรรค สหภูมิ ไม่สังกัดพรรค ประชาธิปัตย์
ที่นั่งก่อนหน้า พรรคใหม่ 0 3
ที่นั่งที่ชนะ 4 2 1
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น4 เพิ่มขึ้น2 ลดลง2

  Fourth party Fifth party
 
สส-เทพโชติ.jpg
Field Marshal Plaek Phibunsongkhram.jpg
ผู้นำ เทพ โชตินุชิต แปลก พิบูลสงคราม
พรรค เศรษฐกร (พ.ศ. 2498) เสรีมนังคศิลา
ที่นั่งก่อนหน้า 2 2
ที่นั่งที่ชนะ 0 0
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง2 ลดลง2

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

พจน์ สารสิน
อิสระ

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

ถนอม กิตติขจร
ชาติสังคม

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุบลราชธานี ธันวาคม พ.ศ. 2500 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป ธันวาคม พ.ศ. 2500 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2500 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 1 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 7 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 7 คน[1]

ภาพรวม

[แก้]

ผลการเลือกตั้ง

[แก้]
สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง
ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดอุบลราชธานี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ ฟอง สิทธิธรรม (30)* 54,049
สหภูมิ ทิม ภูริพัฒน์ (28)* 52,185
สหภูมิ วีระ รมยะรูป (24) 49,622
สหภูมิ อรอินทร์ ภูริพัฒน์ (26) 48,488
สหภูมิ ผัน บุญชิต (23)* 44,521
ไม่สังกัดพรรค เลียง ไชยกาล (12)* 44,384 ' '
ไม่สังกัดพรรค นาถ เงินทาบ (16) 43,464 ' '
ประชาธิปัตย์ กลิ่น ปลั่งนิล (11)* 40,259
ไม่สังกัดพรรค อรพินท์ ไชยกาล (23)✔ 38,366
สหภูมิ กมล มุสิกสวัสดิ์ (25) 29,643
สหภูมิ ฟอง การินทร์ (27) 29,614
ไม่สังกัดพรรค ดิเรก มณีรัตน์ (6)✔ 23,801
ไม่สังกัดพรรค ทองพูน อาจธะขันธ์ (29)* 23,347
เศรษฐกร (พ.ศ. 2498) สง่า พาวงษ์ (10) 20,518
ไม่สังกัดพรรค ยงยุทธ พึ่งภพ (8)✔ 20,098
อีสาน สุวรรณ คูณพงศ์ (37) 18,831
ประชาธิปัตย์ นพภา วาจรัต (1) 17,720
ประชาธิปัตย์ โทน ศรีจันทร์เติม (31) 17,532
ประชาธิปัตย์ เสรี สุชาตะประคัลภ์ (15) 17,322
ไม่สังกัดพรรค ผดุง โกศัลวิตร (36)✔ 16,354
เศรษฐกร (พ.ศ. 2498) วานิช จันทร์ทอง (5) 15,617
ประชาธิปัตย์ อุทัย คูหะรัตน์ (9) 15,564
ประชาธิปัตย์ สุดใจ สุภสร (22)✔ 13,840
ไม่สังกัดพรรค ขุนวรวาทพิสุทธิ์ (สุข พันธ์เพ็ง) (18) 13,782
ประชาธิปัตย์ รัตน์ ทาระธรรม (21) 13,565
ไม่สังกัดพรรค ร้อยตรี มนัศ มานะสาบุตร (20) 13,097
เศรษฐกร (พ.ศ. 2498) พยอม หงษ์ภักดี (14) 12,555
เศรษฐกร (พ.ศ. 2498) จรรยา พจนศิลป์ (19) 11,963
ประชาธิปัตย์ อุเทพ เทพสิกขา (3) 11,623
ประชาธิปัตย์ พิมล สิทธิธรรม (33) 11,545
เศรษฐกร (พ.ศ. 2498) บุญมา เกษมวัน (17)✔ 10,576
ไม่สังกัดพรรค พิพัฒน์ จินารัตน์ (35) 9,815
เศรษฐกร (พ.ศ. 2498) เติม ศรีสมุทร (4) 9,403
เศรษฐกร (พ.ศ. 2498) เจียม โชติรัษฎ์ (2)* 9,194
ไม่สังกัดพรรค กาญจน์ บุญหาญ (32) 8,928
ไม่สังกัดพรรค ทองสิงห์ ยืนยาว (34) 7,994
เศรษฐกร (พ.ศ. 2498) วรการ ไชยกาล (7) 7,296
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
สหภูมิ ได้ที่นั่งจาก เศรษฐกร (พ.ศ. 2498)
สหภูมิ ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์
สหภูมิ ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์
สหภูมิ ได้ที่นั่งจาก เสรีมนังคศิลา
ไม่สังกัดพรรค ได้ที่นั่งจาก เสรีมนังคศิลา
ไม่สังกัดพรรค ได้ที่นั่งจาก เศรษฐกร (พ.ศ. 2498)
จังหวัดอุบลราชธานีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไปเพิ่มเติม พ.ศ. 2501

30 มีนาคม พ.ศ. 2501

7 ที่นั่งเพิ่มเติมในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน440,818
ผู้ใช้สิทธิ43.82%
  First party Second party Third party
 
Prime Minister Sarit Thanarat.jpg
ควง อภัยวงศ์ 2475.jpg
ผู้นำ สฤษดิ์ ธนะรัชต์ ควง อภัยวงศ์
พรรค ชาติสังคม ไม่สังกัดพรรค ประชาธิปัตย์
ที่นั่งที่ชนะ 4 2 1
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น4 เพิ่มขึ้น2 เพิ่มขึ้น1

การเลือกตั้งเพิ่มเติม 30 มีนาคม พ.ศ. 2501

[แก้]

หลังจากการเลือกตั้งทั่วไปในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2500 ก็ได้มีพระราชกฤษฎีกาให้เลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ 1 เพิ่มขึ้นเท่าจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ 2 พ.ศ. 2501[2] ใน 5 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดพระนคร, จังหวัดธนบุรี, จังหวัดกาฬสินธุ์, จังหวัดร้อยเอ็ด และ จังหวัดอุบลราชธานี กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2501 โดยจังหวัดอุบลราชธานี แบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 1 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเพิ่มอีก 7 คน แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 7 คน

ภาพรวม

[แก้]

ผลการเลือกตั้ง

[แก้]
สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง
ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดอุบลราชธานี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ไม่สังกัดพรรค อรพินท์ ไชยกาล (4)✔ 61,203 ' '
ไม่สังกัดพรรค ยงยุทธ พึ่งภพ (5)✔ 58,874 ' '
ชาติสังคม ดิเรก มณีรัตน์ (16)✔ 45,302
ประชาธิปัตย์ กลิ่น ปลั่งนิล (25)✔ 37,066
ชาติสังคม ฟอง การินทร์ (17) 36,825
ชาติสังคม ขุนวรวาทพิสุทธิ์ (สุข พันธ์เพ็ง) (13) 35,962
ชาติสังคม สุวิชช์ จิตตะยโสธร (15)✔ 35,558
ไม่สังกัดพรรค สง่า พาวงษ์ (3) 31,006
สหภูมิ ประทีป ทองคำใส (11) 29,699
ชาติสังคม เพทาย ภูริพัฒน์ (14) 28,608
ชาติสังคม กมล มุสิกสวัสดิ์ (12) 26,924
ชาติสังคม จารึก สวัสดี (18) 23,063
ไม่สังกัดพรรค ทองพูน อาจธะขันธ์ (22)✔ 22,938
ไม่สังกัดพรรค สมอรุณ ณุวงษ์ศรี (6) 22,329
ไม่สังกัดพรรค ผดุง โกศัลวิตร (45)✔ 19,827
ไม่สังกัดพรรค เสรี สุชาตะประคัลภ์ (37) 18,985
เศรษฐกร (พ.ศ. 2498) จรรยา พจนศิลป์ (20) 16,206
ไม่สังกัดพรรค พร ยุวพันธ์ (35) 15,999
ไม่สังกัดพรรค อุเทพ เทพสิทธา (36) 15,963
ไม่สังกัดพรรค บุญมา เกษมวัน (44)✔ 14,721
ประชาธิปัตย์ สุดใจ สุภสร (24)✔ 14,382
ไม่สังกัดพรรค เขียน คุณทรัพย์ (2) 13,795
ไม่สังกัดพรรค คอม สืบเหล่า (1) 13,169
ไม่สังกัดพรรค สามารถ บุญยะลักษณ์ (40) 12,299
เศรษฐกร (พ.ศ. 2498) เติม ศรีสมุทร (21) 12,298
ไม่สังกัดพรรค พยอม หงษ์ภักดี (10) 12,220
ไม่สังกัดพรรค พิมล สิทธิธรรม (39) 12,205
อีสาน สุวรรณ คูณพงศ์ (32) 12,129
ประชาธิปัตย์ อุทัย คูหะรัตน์ (23) 11,748
ประชาธิปัตย์ รัตน์ ทาระธรรม (26) 10,245
ไม่สังกัดพรรค วิเชียร ไกรฤกษ์ (47) 10,056
ไม่สังกัดพรรค สมัย ภูธา (7) 9,784
เศรษฐกร (พ.ศ. 2498) วานิช จันทร์ทอง (19) 9,504
ไม่สังกัดพรรค ศรีใส ทับทิมหิน (46) 9,042
ไม่สังกัดพรรค นพภา วาจรัต (38) 8,420
ไม่สังกัดพรรค ประกิต มรกฎ (30) 7,110
ไม่สังกัดพรรค ถนอม ยุกติรัตน (31) 7,096
ไม่สังกัดพรรค อุดร ศิริจันทร์ (41) 6,758
ประชาธิปัตย์ โกมล โกศัลวิตร (27) 5,975
ไม่สังกัดพรรค บุญเพ็ง พรหมคุณ (9) 5,709
อีสาน นิตย์ รักพงศ์ (33) 5,657
อีสาน สมศักดิ์ วงศ์งาม (34) 5,521
ไม่สังกัดพรรค สมาน ศรีธัญญรัตน์ (42) 5,494
ไม่สังกัดพรรค ร้อยตรี มนัส มานะสาบุตร (28) 4,944
ไม่สังกัดพรรค ทองคำ ศรีอักษร (8) 3,347
ไม่สังกัดพรรค มโนพร มานะสาบุตร (29) 3,198
ไม่สังกัดพรรค ศิลปชัย ชาญเฉลิม (43) 2,283
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ไม่สังกัดพรรค ชนะที่นั่ง (เขตเลือกตั้งใหม่)
ไม่สังกัดพรรค ชนะที่นั่ง (เขตเลือกตั้งใหม่)
ชาติสังคม ชนะที่นั่ง (เขตเลือกตั้งใหม่)
ประชาธิปัตย์ ชนะที่นั่ง (เขตเลือกตั้งใหม่)
ชาติสังคม ชนะที่นั่ง (เขตเลือกตั้งใหม่)
ชาติสังคม ชนะที่นั่ง (เขตเลือกตั้งใหม่)
ชาติสังคม ชนะที่นั่ง (เขตเลือกตั้งใหม่)

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. รายงานการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของกระทรวงมหาดไทย เล่ม ๒. กองเลือกตั้ง ส่วนการทะเบียนและเลือกตั้ง กรมมหาดไทย. 2502
  2. ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ ๑ เพิ่มแทนประเภทที่ ๒