ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดสุราษฎร์ธานีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดสุราษฎร์ธานีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550

← พ.ศ. 2549 (โมฆะ) 23 ธันวาคม พ.ศ. 2550 พ.ศ. 2554 →

6 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ผู้ใช้สิทธิ77.62%
  First party Second party
 
พรรค ประชาธิปัตย์ พลังประชาชน
ที่นั่งก่อนหน้า 6 0
ที่นั่งที่ชนะ 6 0
ที่นั่งเปลี่ยน Steady0 Steady0
คะแนนเสียง 435,718 23,399
% 89.58 4.81

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

สุรยุทธ์ จุลานนท์
อิสระ (คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ)

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

สมัคร สุนทรเวช
พลังประชาชน

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุราษฎร์ธานี พ.ศ. 2550 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2550 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 2 เขตเลือกตั้ง[1] มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 6 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อปี พ.ศ. 2549 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน

ภาพรวม

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบสัดส่วน

[แก้]

คะแนนรวมทั้งหมดในกลุ่มจังหวัดที่ 8

[แก้]

กลุ่มจังหวัดที่ 8 ประกอบไปด้วยจังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัดพังงา จังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัดกระบี่ จังหวัดภูเก็ต จังหวัดตรัง จังหวัดพัทลุง จังหวัดสตูล จังหวัดสงขลา จังหวัดปัตตานี จังหวัดนราธิวาส และจังหวัดยะลา

 •  ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบสัดส่วน กลุ่มจังหวัดที่ 8
พรรค คะแนนเสียง ร้อยละ
เพื่อแผ่นดิน (1) 156,932 4.08
รวมใจไทยชาติพัฒนา (2) 61,688 1.60
เครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย (3) 33,729 0.88
ประชาธิปัตย์ (4) 3,086,262 80.17
พลังเกษตรกร (5) 26,029 0.68
รักเมืองไทย (6)
แรงงาน (7)
เกษตรกรไทย (8)
ประชาราช (9) 26,472 0.69
นิติศาสตร์ไทย (10)
พัฒนาประชาธิปไตย (11)
พลังประชาชน (12) 319,984 8.31
ชาติไทย (13) 57,589 1.50
ดำรงไทย (14)
มัชฌิมาธิปไตย (15) 17,999 0.47
ชาติสามัคคี (16)
ความหวังใหม่ (17) 13,108 0.34
ประชากรไทย (18) 6,801 0.18
ประชามติ (19) 6,382 0.17
ไทเป็นไท (20) 14,823 0.39
พลังแผ่นดินไท (21) 6,440 0.17
มหาชน (22)
คุณธรรม (23)
ราษฎรรักไทย (24) 5,297 0.14
กฤษไทยมั่นคง (25)
อยู่ดีมีสุข (26)
ไทยร่ำรวย (27) 6,587 0.17
เอกราช (28)
พลังแผ่นดิน (29)
สังคมธิปไตย (30)
นำวิถี (31) 3,480 0.09
บัตรดี 3,849,602 92.19
บัตรเสีย 240,163 5.75
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 86,016 2.06
ผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง 4,175,781 77.96
ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง 5,356,089 100.00

ผู้สมัครได้รับการเลือกตั้งในกลุ่มจังหวัดที่ 8

[แก้]

แต่ละกลุ่มจังหวัดมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกลุ่มละ 10 คน สำหรับกลุ่มจังหวัดที่ 8 แบ่งออกเป็นตามสัดส่วนคะแนนดังนี้

พรรคการเมือง รายชื่อผู้สมัคร
พรรคประชาธิปัตย์ ชวน หลีกภัย
บัญญัติ บรรทัดฐาน
ไตรรงค์ สุวรรณคีรี
จุรินทร์ ลักษณวิศิษฎ์
ชำนิ ศักดิเศรษฐ์
นิพนธ์ บุญญามณี
พีรยศ ราฮิมมูลา
เฉลิมลักษณ์ เก็บทรัพย์
พรรคพลังประชาชน อารีเพ็ญ อุตรสินธุ์
พรรคเพื่อแผ่นดิน มานพ ปัตนวงศ์

คะแนนรวมเฉพาะจังหวัดสุราษฎร์ธานี

[แก้]
 •  ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบสัดส่วน จังหวัดสุราษฎร์ธานี
พรรค คะแนนเสียง ร้อยละ
เพื่อแผ่นดิน (1) 7,822 1.61
รวมใจไทยชาติพัฒนา (2) 1,655 0.34
เครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย (3) 3,500 0.72
ประชาธิปัตย์ (4) 435,718 89.58
พลังเกษตรกร (5) 1,166 0.24
รักเมืองไทย (6)
แรงงาน (7)
เกษตรกรไทย (8)
ประชาราช (9) 3,216 0.66
นิติศาสตร์ไทย (10)
พัฒนาประชาธิปไตย (11)
พลังประชาชน (12) 23,399 4.81
ชาติไทย (13) 2,490 0.51
ดำรงไทย (14)
มัชฌิมาธิปไตย (15) 2,525 0.52
ชาติสามัคคี (16)
ความหวังใหม่ (17) 1,012 0.21
ประชากรไทย (18) 390 0.08
ประชามติ (19) 564 0.12
ไทเป็นไท (20) 1,562 0.32
พลังแผ่นดินไท (21) 373 0.08
มหาชน (22)
คุณธรรม (23)
ราษฎรรักไทย (24) 297 0.06
กฤษไทยมั่นคง (25)
อยู่ดีมีสุข (26)
ไทยร่ำรวย (27) 470 0.10
เอกราช (28)
พลังแผ่นดิน (29)
สังคมธิปไตย (30)
นำวิถี (31) 225 0.05
บัตรดี 486,384 93.49
บัตรเสีย 24,603 4.73
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 9,250 1.78
ผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง 520,237 77.62
ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง 670,258 100.00

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

[แก้]

เขต 1เขต 2

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี อำเภอบ้านนาสาร อำเภอกาญจนดิษฐ์ อำเภอดอนสัก อำเภอเกาะสมุย อำเภอเกาะพะงัน และอำเภอเวียงสระ (ยกเว้นตำบลทุ่งหลวง)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดสุราษฎร์ธานี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ สุเทพ เทือกสุบรรณ (3)** 182,937 78.72
ประชาธิปัตย์ ประพนธ์ นิลวัชรมณี (2)* 173,660 74.73
ประชาธิปัตย์ ชุมพล กาญจนะ (1)* 165,184 71.08
พลังประชาชน ประเสริฐ บุญประสพ (11) 23,634 10.17
เพื่อแผ่นดิน ชูชัย ทองขาว (4) 23,255 10.01
พลังประชาชน มานพ เกษมณี (12) 17,884 7.70
พลังประชาชน สมพล วิชัยดิษฐ (10) 14,247 6.13
ชาติไทย ยรรยง ศรีฟ้า (13) 5,499 2.37
เพื่อแผ่นดิน พิพัฒน์ อินทรักษ์ (5) 4,606 1.98
ชาติไทย เฉลิม บุญรัตนัง (15) 4,188 1.80
รวมใจไทยชาติพัฒนา ไพลิน นพคุณ (9) 2,939 1.27
รวมใจไทยชาติพัฒนา ภาณุ สุวรรณพานิช (7) 2,846 1.23
ประชามติ เทพทอง พนังแก้ว (25) 2,535 1.09
ชาติไทย ร้อยตำรวจตรี คเนศ ศรีศักดิ์ (14) 2,444 1.05
เพื่อแผ่นดิน ชัยชนะ สงฤทธิ์ (6) 2,400 1.03
รวมใจไทยชาติพัฒนา ประสิทธิ์ เจริญศรี (8) 2,080 0.90
ความหวังใหม่ สถิต ช่วงชุณห์ส่อง (29) 2,062 0.89
มัชฌิมาธิปไตย สุมิตรา แก้วอินทร์ (16) 1,367 0.59
มัชฌิมาธิปไตย จิรวรรณ สารสิทธิ์ (17) 1,215 0.52
มัชฌิมาธิปไตย เพ็ญชื่น อัครบัณฑิตสกุล (18) 1,184 0.51
เกษตรกรไทย ถวิล ใจกว้าง (19) 897 0.39
ประชามติ สุรินทร์ ทองแท่น (26) 814 0.35
ความหวังใหม่ จิตรา เดชเสน่ห์ (28) 812 0.35
เกษตรกรไทย เอกราช ผลผลา (21) 742 0.32
เกษตรกรไทย สายันณ์ ไทรแก้ว (20) 661 0.28
ไทยร่ำรวย วิมลทิพย์ สังข์นคร (22) 609 0.26
ไทยร่ำรวย อุไรวรรณ ฮ่อบุตร (23) 512 0.22
ความหวังใหม่ เกษม หอมทวนลม (30) 454 0.20
ไทยร่ำรวย นพรัตน์ ทองโชติ (24) 439 0.19
ประชามติ สิทธิชัย เพชรชู (27) 418 0.18
บัตรดี 232,384 92.58
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 12,583 5.01
บัตรเสีย 6,049 2.41
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 251,016 75.18
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 333,867 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 2

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอพุนพิน อำเภอเคียนซา อำเภอคีรีรัฐนิคม อำเภอไชยา อำเภอพนม อำเภอท่าฉาง อำเภอท่าชนะ อำเภอพระแสง อำเภอบ้านนาเดิม อำเภอบ้านตาขุน อำเภอชัยบุรี อำเภอวิภาวดี และอำเภอเวียงสระ (เฉพาะตำบลทุ่งหลวง)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดสุราษฎร์ธานี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ เชน เทือกสุบรรณ (7)* 201,519 79.09
ประชาธิปัตย์ สินิตย์ เลิศไกร (8)* 193,961 76.12
ประชาธิปัตย์ นิภา พริ้งศุลกะ (9)* 179,103 70.29
มัชฌิมาธิปไตย ภิญญา ช่วยปลอด (1)✔ 38,746 15.21
เพื่อแผ่นดิน พันตำรวจเอก สมพล รัฐกาญจน์ (4) 20,681 8.12
เพื่อแผ่นดิน กีรติ ช่วยชนะ (6) 10,939 4.29
พลังประชาชน โกมล นกวิเชียร (10) 10,778 4.23
มัชฌิมาธิปไตย เอกราช รอดเจริญ (3) 9,855 3.87
มัชฌิมาธิปไตย ประดิษฐ์ รักสวัสดิ์ (2) 9,035 3.55
พลังประชาชน ประกิจ เพชรัตน์ (12) 8,576 3.37
พลังประชาชน บุญยงค์ จรัสจรูญฤทธิ์ (11) 7,734 3.04
เพื่อแผ่นดิน ไชยันต์ ลิหมัด (5) 7,237 2.84
ความหวังใหม่ สุวิช กลางนุรักษ์ (19) 1,729 0.68
ความหวังใหม่ สุภารัตน์ วรเศรษฐศักดิ์ (21) 1,385 0.54
ประชามติ สุระศักดิ์ ช่วยเพ็ญ (22) 1,272 0.50
พลังแผ่นดินไท วัชระ พัฒนรักษา (13) 1,259 0.49
พลังแผ่นดินไท เจริญ รอดรักษา (15) 1,225 0.48
ความหวังใหม่ กฤษณพล บุญเพ็ง (20) 1,155 0.45
ไทยร่ำรวย สถาพร ปานเพชร (18) 1,035 0.41
ไทยร่ำรวย จิราพร ธรรมกุล (17) 990 0.39
ประชามติ กมล ชาสวัสดิ์ (23) 904 0.36
ไทยร่ำรวย ประคอง ทองสม (16) 867 0.34
พลังแผ่นดินไท อดิศักดิ์ หมกแดง (14) 802 0.32
ประชามติ วิษณุ หลิวคง (24) 371 0.15
บัตรดี 254,810 94.65
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 8,159 3.03
บัตรเสีย 6,252 2.32
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 269,221 80.03
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 336,391 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง. "ข้อมูลสถิติการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2550". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-06-06. สืบค้นเมื่อ 13 December 2019.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]