ยุทธการที่ฮ่องกง
หน้าตา
(เปลี่ยนทางจาก Battle of Hong Kong)
ยุทธการที่ฮ่องกง | |||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ส่วนหนึ่งของ สงครามแปซิฟิกในสงครามโลกครั้งที่สอง | |||||||||
ญี่ปุ่นได้เข้ารุกรานบนเกาะฮ่องกง,วันที่ 18-25 ธันวาคม 1941 | |||||||||
| |||||||||
คู่สงคราม | |||||||||
แคนาดา | ญี่ปุ่น | ||||||||
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ | |||||||||
มาร์ก แอตชิสัน ยัง (เชลย) คริสโตเฟอร์ มาลต์บี้ (เชลย) จอห์น เค. ลอว์สัน † เซดริค วาลลิส (เชลย) |
ทะกะชิ ซาไก Mineichi Koga ทาดามิจิ คูริบายาชิ | ||||||||
กำลัง | |||||||||
13,981 troops 1 destroyer 1 gunboat |
29,700 troops 47 planes 1 cruiser 3 destroyers 4 torpedo boats 3 gunboats | ||||||||
ความสูญเสีย | |||||||||
2,113 killed or missing 2,300 wounded 10,000 captured[a] 1 destroyer captured 1 gunboat sunk |
675 killed 2,079 wounded[2] | ||||||||
Civilian casualties: 4,000 killed 3,000 severely wounded[b] |
แม่แบบ:Campaignbox Pacific War
แม่แบบ:Campaignbox World War IIยุทธการที่ฮ่องกง (8–25 ธันวาคม 1941) ยังเป็นที่รู้จักคือ การป้องกันฮ่องกงและการยึดครองฮ่องกง เป็นหนึ่งในครั้งแรกของสงครามมหาสมุทรแปซิฟิกในสงครามโลกครั้งที่สอง เช้าในวันเดียวกันกับการโจมตีเพิร์ลฮาร์เบอร์ กองทัพของจักรวรรดิญี่ปุ่นได้เข้าโจมตีคราวน์โคโลนีของบริเตนที่เกาะฮ่องกง การโจมตีในการละเมิดกฎหมายต่างประเทศ เช่น ญี่ปุ่นไม่ได้ประกาศสงครามกับจักรวรรดิอังกฤษ การโจมตีของฝ่ายญี่ปุ่นนั้นก็ต้องพบการต่อต้านจากทหารในฮ่องกงประกอบไปด้วยกองกำลังท้องถิ่นอย่างทหารอังกฤษ, แคนาดา และอินเดีย ภายในสัปดาห์ กองกำลังฝ่ายป้องกันได้ถูกทอดทิ้งจากแผ่นดินใหญ่และน้อยกว่าสองสัปดาห์ต่อมา กองกำลังฝ่ายการป้องกันบนเกราะนั้นไม่สามารถป้องกันได้ อาณานิคมจึงได้ยอมจำนนและถูกยึดครองในที่สุด
หมายเหตุ
[แก้]- ↑ Figures taken from Christopher Maltby, the Commander British Forces in Hong Kong[1]
- ↑ Figures taken from Selwyn Selwyn-Clarke, the Director of Medical Services in Hong Kong.[3]
อ้างอิง
[แก้]- Banham, Tony (2005). Not the Slightest Chance: The Defence of Hong Kong, 1941. Hong Kong: Hong Kong University Press. ISBN 9622097804.
- Carroll, J. M. A Concise History of Hong Kong. Critical Issues in History. Lanham: Rowman & Littlefield. ISBN 0-74253-421-9.
- Fung, Chi Ming (2005). Reluctant Heroes: Rickshaw Pullers in Hong Kong and Canton, 1874–1954 (illus. ed.). Hong Kong University Press. ISBN 978-962-209-734-6.
- Harris, John R. (2005). The Battle for Hong Kong 1941–1945. Hong Kong: Hong Kong University Press. ISBN 978-962-209-779-7.
- Ishiwari, Heizō (31 May 1956). Army Operations in China, December 1941 – December 1943 (PDF). Japanese Monograph. IV 17807.71-2. Washington, DC: Office of the Chief of Military History, Department of the Army. OCLC 938077822. Retrieved 30 July 2016.
- Mackenzie, Compton (1951). Eastern Epic: September 1939 – March 1943, Defence. I. London: Chatto & Windus. OCLC 59637091.
- Nicholson, Brian (2010). Traitor. Bloomington, IN: Trafford. ISBN 978-1-4269-4604-2.
- Stacey, C. P. (1956) [1955]. Six Year of War: The Army in Canada, Britain and the Pacific (PDF). Official History of the Canadian Army in the Second World War. I (2nd rev. online ed.). Ottawa: By Authority of the Minister of National Defence. OCLC 917731527. Retrieved 12 December 2015.
- Turner, John Frayn (2010) [2006]. Awards of the George Cross 1940–2009 (online, Pen & Sword, Barnsley ed.). Havertown, PA: Casemate. ISBN 978-1-78340-981-5.
- Woodburn Kirby, S.; et al. (2004) [1957]. Butler, J. R. M., ed. The War Against Japan: The Loss of Singapore. History of the Second World War United Kingdom Military Series. I (Naval & Military Press ed.). London: HMSO. ISBN 1-84574-060-2.
- ↑ Banham 2005, p. 317.
- ↑ Ishiwari 1956, pp. 47–48.
- ↑ Banham 2005, p. 318.
หมวดหมู่:
- ยุทธการที่ฮ่องกง
- สงครามแปซิฟิก
- ยุทธการและปฏิบัติการทางทหารในสงครามโลกครั้งที่สอง
- ยุทธการและปฏิบัติการทางทหารในสงครามโลกครั้งที่สองเกี่ยวข้องกับอินเดีย
- สงครามเกี่ยวข้องกับฮ่องกง
- ยุทธการในสงครามโลกครั้งที่สองเกี่ยวข้องกับญี่ปุ่น
- เหตุการณ์ในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2484
- การเสียเมืองหลวง
- การบุกครองในสงครามโลกครั้งที่สอง
- การบุกครองโดยญี่ปุ่น