ข้ามไปเนื้อหา

วุฒิสภาไทย ชุดที่ 8

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
วุฒิสภาไทย ชุดที่ 8
ชุดที่ 7 ชุดที่ 9
ภาพรวม
สภานิติบัญญัติวุฒิสภา
เขตอำนาจประเทศไทย
ที่ประชุมอาคารรัฐสภา
วาระ22 มีนาคม 2543 – 21 มีนาคม 2549
การเลือกตั้งการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2543
รัฐบาลคณะรัฐมนตรีชวน 2
คณะรัฐมนตรีทักษิณ
คณะรัฐมนตรีทักษิณ 2
วุฒิสภา
สมาชิก200
ประธานสุชน ชาลีเครือ
รองประธานคนที่ 1นิพนธ์ วิสิษฐยุทธศาสตร์
รองประธานคนที่ 2สหัส พินทุเสนีย์

สมาชิกวุฒิสภาไทย ชุดที่ 8 (22 มีนาคม พ.ศ. 2543 - 21 มีนาคม พ.ศ. 2549) เป็นสมาชิกชุดแรกที่มาจากการเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชน โดยมีการเลือกตั้งเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 2543[1] ประกอบด้วยสมาชิกซึ่งราษฎรเลือกตั้ง จำนวน 200 คน ตามบทเฉพาะกาล มาตรา 315 วรรคห้า (1) ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 กำหนดให้สมาชิกภาพของสมาชิกวุฒิสภาชุดนี้เริ่มนับตั้งแต่วันที่สมาชิกภาพของสมาชิกวุฒิสภาที่มาจากการแต่งตั้งตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2534 สิ้นสุดลง คือ ครบวาระ 4 ปีในวันที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2543

ดังนั้น สมาชิกภาพของสมาชิกวุฒิสภาชุดนี้จึงเริ่มนับตั้งแต่วันที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2543 เป็นต้นมา และสิ้นสุดสมาชิกภาพในวันที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2549

สมาชิกวุฒิสภา

[แก้]

กรุงเทพมหานคร

[แก้]

มีรายนามดังนี้

จังหวัด รายนาม หมายเหตุ
กรุงเทพมหานคร ปราโมทย์ ไม้กลัด
ดำรง พุฒตาล
เจิมศักดิ์ ปิ่นทอง
โสภณ สุภาพงษ์
พลตำรวจเอก ประทิน สันติประภพ ลาออก 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2548
วัลลภ ตังคณานุรักษ์
แก้วสรร อติโพธิ
มีชัย วีระไวทยะ
ประทีป อึ้งทรงธรรม ฮาตะ
สัก กอแสงเรือง
เสรี สุวรรณภานนท์
อิมรอน มะลูลีม
ผ่อง เล่งอี้
ชุมพล ศิลปอาชา
จอน อึ๊งภากรณ์
พลตำรวจโท ทวี ทิพยรัตน์
ชัชวาลย์ คงอุดม
คุณหญิงชดช้อย โสภณพนิช

ภาคกลาง

[แก้]
จังหวัด รายนาม หมายเหตุ
กำแพงเพชร สุนทร จินดาอินทร์
อนันต์ ผลอำนวย
ชัยนาท นันทนา สงฆ์ประชา
นครนายก มารุต โรจนาปิยาวงศ์
นครปฐม สราวุธ นิยมทรัพย์
ประสิทธิ์ ปทุมารักษ์
นครสวรรค์ มาลินี สุขเวชชวรกิจ
ประสิทธิ์ พิทูรกิจจา
พัฒนา ศิริวันสาณฑ์
สมเกียรติ ศรลัมพ์
นนทบุรี พลเอก ยุทธนา คำดี
คุณหญิง จิตนา สุขมาก
ถวิล จันทร์ประสงค์
ปทุมธานี นิพัทธา อมรรัตเมธา
ปรีดี หิรัญพฤกษ์
พระนครศรีอยุธยา นิเวศ พันธ์เจริญวรกุล
สำรวย แขวัฒนะ ถูกร้องคัดค้าน 13 มีนาคม พ.ศ. 2544
ประโภชฌ์ สภาวสุ แทนสำรวย 21 เมษายน พ.ศ. 2544
พิจิตร สุรสิทธิ์ ฉัตรชัยเดช
วิชิต พูลลาภ ถึงแก่กรรม 28 ธันวาคม พ.ศ. 2546
บัวล้อม พูลลาภ แทนวิชิต 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2547[2]
พิษณุโลก พลเอก ศิริ ทิวพันธุ์
บุญยืน ศุภสารสาทร
พลตำรวจโท ณรงค์ อมาตยกุล
เพชรบูรณ์ เกษม ชัยสิทธิ์
ประสงค์ โฆษิตานนท์
สุทัศน์ จันทร์แสงศรี
ลพบุรี สนิท วรปัญญา
พลเอก ศิรินทร์ ธูปกล่ำ ถูกร้องคัดค้าน 13 มีนาคม พ.ศ. 2544
ชงค์ วงษ์ขันธ์ แทนศิรินทร์ 21 เมษายน พ.ศ. 2544 และถึงแก่อนิจกรรม 6 สิงหาคม พ.ศ. 2548
พันตำรวจโท ชัชวาล บุญมี แทนชงค์ 18 กันยายน พ.ศ. 2548
สมุทรปราการ จรูญ ยังประภากร
พากเพียร วิริยะพันธุ์ ถึงแก่อนิจกรรม 16 มกราคม พ.ศ. 2545
สนิท กุลเจริญ เลือกตั้งแทนนายพากเพียร 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2545
อนันตชัย คุณานันทกุล
สมุทรสงคราม มนตรี สินทวิชัย
สมุทรสาคร วิเชียร เปาอินทร์
สระบุรี บรรฑูรย์ เกริกพิทยา
พลตรี มนูญกฤต รูปขจร
สิงห์บุรี คำนวณ ชโลปภัมภ์
สุโขทัย จำเจน จิตรธร
พลเอก พนม จีนะวิจารณะ ถึงแก่อนิจกรรม 27 สิงหาคม พ.ศ. 2548
ปิยะชนก ลิมปะพันธุ์ แทนพนม 9 ตุลาคม พ.ศ. 2548
สุพรรณบุรี สมเกียรติ อ่อนวิมล
พลเอก มนัส อร่ามศรี
มนัส รุ่งเรือง
อ่างทอง นิพนธ์ วิสิษฐยุทธศาสตร์
อุทัยธานี ศิลป์ชัย เชษฐศิลป์

ภาคเหนือ

[แก้]
จังหวัด รายนาม หมายเหตุ
เชียงราย เตือนใจ ดีเทศน์
พลตำรวจเอก วิรุฬห์ พื้นแสน
บุษรินทร์ ติยะไพรัช
วิสิษฐ์ เตชะธีราวัฒน์
เชียงใหม่ อาคม ตุลาดิลก
พลตำรวจตรี สนาม คงเมือง
พลตรี อินทรัตน์ ยอดบางเตย
ถาวร เกียรติไชยากร
พลตำรวจเอก สวัสดิ์ อมรวิวัฒน์
น่าน สม ต๊ะยศ
สันติภาพ อินทรพัฒน์ ลาออก 6 มีนาคม พ.ศ. 2549
อุตรดิตถ์ คำนวณ เหมาะประสิทธิ์
อนุชาติ บรรจงศุภมิตร
พะเยา สุรเดช ยะสวัสดิ์
พวงเล็ก บุญเชียง ถูกร้องคัดค้าน, เลือกตั้งใหม่
สงววน นันทชาติ เลือกตั้งใหม่ 21 เมษายน พ.ศ. 2544
แพร่ สมพร คำชื่น
สวัสดิภาพ กันทาธรรม
แม่ฮ่องสอน อดุลย์ วันไชยธนวงศ์
ลำปาง พลตำรวจตรี อำพล งามจิตร
นพดล สมบูรณ์
นิคม เชาว์กิตติโสภณ
ลำพูน สันติ์ เทพมณี

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

[แก้]
จังหวัด รายนาม หมายเหตุ
กาฬสินธุ์ ประศักดิ์ ณ กาฬสินธุ์ ถึงแก่อนิจกรรม 10 มิ.ย. 48
เกรียงไกร ภูมิเหล่าแจ้ง แทนประศักดิ์ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2548
สมบัติ วรามิตร
วิบูลย์ แช่มชื่น
ขอนแก่น พลตำรวจเอก สมชาย ไชยเวช
แคล้ว นรปติ
สมควร จิตแสง
ระเบียบรัตน์ พงษ์พานิช
พา อักษรเสือ
กวี สุภธีระ ถูกร้องคัดค้าน 13 มีนาคม พ.ศ. 2544
โกเมศ ฑีฆธนานนท์ แทนกวี 21 เมษายน พ.ศ. 2544
ชัยภูมิ พิชิต ชัยวิรัตนะ
สุริยน ภูมิรัตนประพิณ
สุชน ชาลีเครือ
นิรัตน์ อยู่ภักดี
นครพนม สวัสดิ์ ทรัพย์เจริญ
วีรวร สิทธิธรรม
นครราชสีมา บุญทัน ดอกไธสง
พิเชฐ พัฒนโชติ
พรหมจารี รัตนเศรษฐ
วีระพล วัชระประทีป
ไกรศักดิ์ ชุณหะวัณ
ไสว พราหมณี
ลำพอง พิลาสมบัติ
อุบล เอื้อศรี
บุรีรัมย์ การุณ ใสงาม
อุชษณีย์ ชิดชอบ
พันตำรวจเอก สุรพงศ์ ไผ่นวล
พร เพ็ญพาส
เพิ่มพูน ทองศรี
มหาสารคาม ทองใบ ทองเปาด์
วิทยา มะเสนา
ศรีเมือง เจริญศิริ
มุกดาหาร ระวี กิ่งคำวงศ์
ยโสธร สมบูรณ์ ทองบุราณ
สมัย ฮมแสน
ร้อยเอ็ด เกษม มาลัยศรี
สุรชัย ดนัยตั้งตระกูล
วิจิตร มโนสิทธิ์ศักดิ์
ประเกียรติ นาสิมมา
เลย พลเอก อาทิตย์ กำลังเอก
หม่อมราชวงศ์กำลูนเทพ เทวกุล
ศรีสะเกษ ชวาล มหาสุวีระชัย ถูกร้องคัดค้าน 13 มีนาคม พ.ศ. 2544
สุนีย์ อินฉัตร แทนชวาล 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2544
ชิต เจริญประเสริฐ ถูกร้องคัดค้าน 13 มีนาคม พ.ศ. 2544 และได้รับเลือกตั้งใหม่ 21 เมษายน พ.ศ. 2544
ณรงค์สิทธิ์ เครือรัตน์
จิโรจน์ โชติพันธุ์
กรองกาญจน์ วีสมหมาย
สกลนคร มาลีรัตน์ แก้วก่า
เพ็ญศักดิ์ จักษุจินดา
วิญญู อุฬารกุล
สุรินทร์ สมสิทธิ์ ศิริเจริญไชย
อำนาจ เธียรประมุข ถึงแก่อนิจกรรม 21 สิงหาคม พ.ศ. 2548
สรรพกิจ ปรีชาชนะชัย แทนอำนาจ 25 กันยายน พ.ศ. 2548
เกษม รุ่งธนเกียรติ ลาออก 4 มิถุนายน พ.ศ. 2546
ปริญญา กรวยทอง แทนเกษม 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2546
อุทัยพันธุ์ สงวนเสริมศรี
หนองคาย นิตินัย นาครทรรพ
เชิดพงษ์ อุทัยสาง
อรัญญา สุจนิล
หนองบัวลำภู ธวัชชัย เมืองนาง
สามารถ รัตนประทีปพร
อำนาจเจริญ นิพนธ์ สุทธิเดช
อุดรธานี คำพันธ์ ป้องปาน
สุพร สุภสร
พันเอก สมคิด ศรีสังคม
จิตรา อยู่ประเสริฐ
พลโท ปัญญา อยู่ประเสริฐ
อุบลราชธานี นิรันดร์ พิทักษ์วัชระ ถูกร้องคัดค้าน 13 มีนาคม พ.ศ. 2544 และได้รับเลือกตั้งใหม่ 21 เมษายน พ.ศ. 2544
วีระศักดิ์ จินารัตน์ ถูกร้องคัดค้าน 13 มีนาคม พ.ศ. 2544
สนิท จันทรวงศ์ แทนวีระศักดิ์ 21 เมษายน พ.ศ. 2544
วิชัย ครองยุติ
อมร นิลเปรม
มลิวัลย์ เงินหมื่น
วิลาวัลย์ ตันวัฒนะพงษ์

ภาคใต้

[แก้]
จังหวัด รายนาม หมายเหตุ
กระบี่ วีรพงศ์ สกลกิติวัฒน์
ชุมพร กมล มั่นภักดี
ตรัง พลอากาศเอก กานต์ สุระกุล
สมศักดิ์ โล่สถาพรพิพิธ
นครศรีธรรมราช ทวี แก้วคง ถึงแก่อนิจกรรม 23 มิ.ย. พ.ศ. 2545
ถวิล ไพรสณฑ์ แทนทวี 4 สิงหาคม พ.ศ. 2545 และลาออก 6 มิถุนายน พ.ศ. 2549
พลตำรวจเอก มีชัย นุกูลกิจ
พลโท โอภาส รัตนบุรี
ณรงค์ นุ่นทอง
ประยุทธ ศรีมีชัย ถึงแก่อนิจกรรม 9 สิงหาคม พ.ศ. 2547
สวัสดิ์ กฤตรัชตนันต์ เลือกตั้งแทน 19 กันยายน พ.ศ. 2547
นราธิวาส ฟัครุดดีน บอตอ
อูมาร์ ตอยิบ
ปัตตานี เด่น โต๊ะมีนา
พลตำรวจโท ชูชาติ ทัศนเสถียร
พังงา วงศ์พันธ์ ณ ตะกั่วทุ่ง
พัทลุง ร้อยตรี อนุกูล สุภาไชยกิจ
โอภาส รองเงิน
ภูเก็ต ไพบูลย์ อุปัติศฤงค์
ยะลา มะตา มะทา
ระนอง ธรรมนูญ มงคล ถูกร้องคัดค้าน 13 มีนาคม พ.ศ. 2544
พลตำรวจเอก มีชัย นุกูลกิจ แทนธรรมนูญ 21 เมษายน พ.ศ. 2544
สงขลา พันตำรวจเอก ไพจิตร ศรีคงคา
สมพงษ์ สระกวี
บุญญา หลีเหลด
สุรใจ ศิรินุพงศ์
สตูล พลเอก หาญ ลีลานนท์
สุราษฎร์ธานี ภิญญา ช่วยปลอด
เฉลิม พรหมเลิศ ลาออก 14 มีนาคม พ.ศ. 2544
อนันต์ ดาโลดม แทนเฉลิม 21 เมษายน พ.ศ. 2544
มนู วณิชชานนท์

ภาคตะวันออก

[แก้]
จังหวัด รายนาม หมายเหตุ
จันทบุรี พลเอก วิชา ศิริธรรม
ปรีชา ปิตานนท์
ฉะเชิงเทรา รส มะลิผล
บุญเลิศ ไพรินทร์
ชลบุรี พลตำรวจโท ปรีชา ปฏิบัติสรกิจ
พลตำรวจตรี วีระ อนันตกูล
วิโรจน์ อมตกุลชัย ถึงแก่กรรม 8 กันยายน พ.ศ. 2548
เชาวน์ มณีวงษ์ แทนวิโรจน์ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2548
ตราด พลตรี สาคร กิจวิริยะ
ปราจีนบุรี กำพล ภู่มณี
ระยอง นิวัฒน์ พ้นชั่ว
ทวีป ขวัญบุรี
สระแก้ว พลโท โกวิท พัฑฒฆายน ถึงแก่กรรม 19 ธันวาคม พ.ศ. 2545
พลตำรวจตรี เสกสันต์ อุ่นสำราญ แทนโกวิท 26 มกราคม พ.ศ. 2546
สหัส พินทุเสนีย์

ภาคตะวันตก

[แก้]
จังหวัด รายนาม หมายเหตุ
กาญจนบุรี พลเอก บัณฑิตย์ มลายอริศูนย์
พลเอก วัฒนา สรรพานิช
ตาก อุดร ตันติสุนทร
พนัส ทัศนียานนท์
ประจวบคีรีขันธ์ ร้อยตรี อำนวย ไทยานนท์
เพชรบุรี พิชัย ขำเพชร
ราชบุรี ร้อยตำรวจโท เชาวริน ลัทธศักดิ์ศิริ
นภินทร ศรีสรรพางค์
ปราโมทย์ ไพชนม์

ผู้ดำรงตำแหน่ง

[แก้]
ประธานวุฒิสภา
รองประธานวุฒิสภา คนที่ 1
  • นายเฉลิม พรหมเลิศ ตั้งแต่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2543 – 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544 (0 ปี 199 วัน)
  • นายพิเชฐ พัฒนโชติ ตั้งแต่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544 – 6 มีนาคม พ.ศ. 2546 (2 ปี 18 วัน)
  • นายสุชน ชาลีเครือ ตั้งแต่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2546 - 23 มีนาคม พ.ศ. 2547 (1 ปี 17 วัน)
  • นายนิพนธ์ วิสิษฐยุทธศาสตร์ ตั้งแต่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2547 - 21 มีนาคม พ.ศ. 2549 (1 ปี 363 วัน)
รองประธานวุฒิสภา คนที่ 2

อ้างอิง

[แก้]
  1. พระราชกฤษฎีกาให้มีการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา พ.ศ. 2543 (ในวันที่ 4 มีนาคม 2543)
  2. "งดทูลเกล้าฯ พ.ร.บ.ราชภัฏ". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-01-25. สืบค้นเมื่อ 2021-07-22.
  3. พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งประธานและรองประธานวุฒิสภา (นายสนิท วรปัญญา นายเฉลิม พรหมเลิศ นายบุญทัน ดอกไธสง)

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]