การล้อมบูดาเปสต์
หน้าตา
(เปลี่ยนทางจาก ยุทธการที่บูดาเปสต์)
ยุทธการที่บูดาเปสต์ | |||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|
ส่วนหนึ่งของ การรุกบูดาเปสต์ (แนวรบด้านตะวันออก ในสงครามโลกครั้งที่สอง) | |||||||
ทหารโซเวียตเดินผ่านหน้า Museum of Applied Arts หลังยุทธการจบลง | |||||||
| |||||||
คู่สงคราม | |||||||
นาซีเยอรมนี รัฐบาลเอกภาพแห่งชาติฮังการี |
สหภาพโซเวียต ราชอาณาจักรโรมาเนีย | ||||||
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ | |||||||
Karl Pfeffer-Wildenbruch (เชลย) Gerhard Schmidhuber † Dezső László Iván Hindy (เชลย) |
โรดีออน มาลีนอฟสกี ฟิโอดอร์ ตอลบูคิน | ||||||
กำลัง | |||||||
ในเมือง:[1] |
| ||||||
ความสูญเสีย | |||||||
3 November–15 February: 137,000 men[4]
Relief attempts:
|
3 November–11 February: 280,000 men[4]
| ||||||
76,000 civilians dead[5] 38,000 civilians died in the siege (7,000 executed) 38,000 died in labour or POW camps |
ยุทธการที่บูดาเปสต์ หรือ การล้อมบูดาเปสต์ เป็นการสู้รบตลอด 50 วันของกองทัพโซเวียต ณ กรุงบูดาเปสต์เมืองหลวงของฮังการี ช่วงสงครามโลกครั้งที่สองจะสิ้นสุดลง โดยเป็นส่วนหนึ่งของการรุกบูดาเปสต์ ยุทธการเริ่มขึ้นเมื่อกรุงบูดาเปสต์ซึ่งถูกปกป้องโดยกองทัพฮังการีและเยอรมนี ถูกโจมตีครั้งแรกโดยกองทัพโซเวียตและกองทัพโรมาเนียในวันที่ 26 ธันวาคม 1944 ในช่วงการรบที่บูดาเปสต์พลเรือน 38,000 คนเสียชีวิตขณะอพยพหรือถูกทหารฆ่า กรุงบูดาเปสต์ยอมจำนนอย่างไม่มีเงื่อนไขในวันที่ 13 กุมภาพันธ์ 1945 โดยเป็นการรบที่ได้รับชัยชนะในเชิงยุทธศาสตร์ของฝ่ายสัมพันธมิตร ในการรุกหน้าสู่กรุงเบอร์ลิน
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Frieser et al. 2007, p. 897.
- ↑ Frieser et al. 2007, p. 898.
- ↑ Ungváry 2003, p. 324.
- ↑ 4.0 4.1 4.2 Ungváry 2003, p. 331–332.
- ↑ Ungváry 2003, p. 330.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]หมวดหมู่:
- ยุทธการและปฏิบัติการทางทหารในสงครามโลกครั้งที่สอง
- แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)
- การล้อมในสงครามโลกครั้งที่สอง
- เหตุการณ์ในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2487
- เหตุการณ์ในเดือนมกราคม พ.ศ. 2488
- เหตุการณ์ในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2488
- บทความเกี่ยวกับ การทหาร ที่ยังไม่สมบูรณ์
- บทความเกี่ยวกับ ประเทศฮังการี ที่ยังไม่สมบูรณ์